MU DENT faculty of dentistry
ภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล
ความเป็นมา
ภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียลจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2511 ปัจจุบันรับผิดชอบการเรียนการสอนพยาธิวิทยาช่องปาก พยาธิวิทยาทั่วไป พยาธิวิทยาระบบ จุลกายวิภาคศาสตร์ช่องปาก และชีววิทยาช่องปาก แก่นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยทันตแพทย์ หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก หลักสูตรปริญญาโท หลักสูตรปริญญาเอก และหลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง นอกจากนี้ภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียลยังมีบริการตรวจวินิจฉัยชิ้นเนื้อ ซึ่งเป็นบริการที่เปิดขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2516
วิสัยทัศน์
เป็นภาควิชาที่มีมาตรฐานระดับสากล เป็นที่ยอมรับในด้านการเรียนการสอน การบริการวินิจฉัยโรคจากชิ้นเนื้อการบริการวิชาการและการวิจัยในสาขาวิชาพยาธิวิทยาช่องปาก และสาขาที่เกี่ยวข้อง
พันธกิจ
มุ่งสร้างคุณค่าความเป็นเลิศทางด้านวิชาการด้วยการจัดการเรียนการสอน การบริการวินิจฉัยโรคจากชิ้นเนื้อ การบริการทางวิชาการและการวิจัยที่มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากลด้วยบุคลากรที่มีคุณภาพภายใต้ระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพโปร่งใส และด้วยจริยธรรม
วัตถุประสงค์
1. จัดการเรียนการสอนในวิชาที่ภาควิชารับผิดชอบและมีส่วนร่วมซึ่งได้แก่ พยาธิวิทยาช่องปาก(Oral Pathology) พยาธิวิทยาทั่วไป (General Pathology) พยาธิวิทยาระบบ (Systemic Pathology) จุลกายวิภาคศาสตร์ช่องปาก (Oral Histology) และชีววิทยาช่องปาก (Oral Biology)และระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology)
2. สร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพในสาขาพยาธิวิทยาช่องปาก (Oral Pathology) ชีววิทยาช่องปาก (Oral Biology) และสาขาที่เกี่ยวข้อง ลงตีพิมพ์ได้ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ
3. ให้บริการวินิจฉัยชิ้นเนื้ออย่างมีคุณภาพและมีมาตรฐาน และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป
4. ให้ความรู้และบริการวิชาการที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานสากลแก่วงการทันตบุคลากรและชุมชน
5. พัฒนาการทำงานของภาควิชาให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้
6. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ส่งเสริมเอกลักษณ์ประจำชาติและการกีฬาเพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์
รองหัวหน้าภาควิชา
Deputy Head of Department
อาจารย์ประจำภาควิชา
ผศ. ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์
ข้อมูลงานวิจัยย้อนหลัง 3 ปีของบุคลากรภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Klongnoi B, Bhattarai BP, Juengsomjit R, Meesakul O, Poomsawat S, Janebodin K, Khovidhunkit SP. Preliminary Study on the Expression of CLLD7 and CHC1L Proteins in Oral Squamous Cell Carcinoma. Eur J Dent. 2024 Feb;18(1):297-303. doi: 10.1055/s-0043-1768468. Epub 2023 Jun 13. PMID: 37311552; PMCID: PMC10959600. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
2 | Poomsawat S, Choakdeewanitthumrong S, Sanguansin, Meesakul O, Kosanwat T. Immunohistochemical expression of SPARC in odontogenic keratocysts: a comparative study with other odontogenic cysts. BMC Oral Health 24, 223 (2024). https://doi.org/10.1186/s12903-024-03978-4 | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
3 | Khovidhunkit SP, Guddoos NA, Poomsawat S, Kengkarn S, Lapthanasupkul P, Punyarit P, Boonmongkolraksa P, Sanguansin S. Human Papillomavirus Prevalence and p16INK4a Expression in Formalin-fixed, Paraffin-embedded Tissues of Head and Neck Squamous Cell Carcinomas: A Retrospective Study. World J Dent 2023; 14 (7):569-575.doi: 10.5005/jp-journals-10015-2261 | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
4 | Poomsawat Sz, Kariya A, Nimmanon T, Kosanwat T, Juengsomjit R, Sanguansin S. Diagnostic potential of Type VII Collagen during oral carcinogenesis. J Appl Oral Sci 2023. doi: 10.1590/1678-7757-2022-0486 | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
5 | Poomsawat S , Kosanwat T, Meesakul O, Sanguansin S. Epithelial and fibroblast SPARC expression patterns in oral leukoplakia and oral squamous cell carcinoma. Oral Surg Oral Med Oral Pathol Oral Radiol 2022; 134(2): 44-50. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
6 | Rahman R, Gopinath D, Buajeeb W, Poomsawat S, Johnson NW. Potential Role of Epstein-Barr Virus in Oral Potentially Malignant Disorders and Oral Squamous Cell Carcinoma: A Scoping Review. Viruses 2022; 14(4): 801. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
7 | Sripodok P, Poomsawat S, Juengsomjit R, Kosanwat T. Intraoral Oncocytic Mucoepidermoid Carcinoma – A Rare Case Report and Review of the Literature. Ann Maxillofac Surg 2021; 11(2): 313–316. |
ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
8 | Kitisubkanchana J, Reduwan NH, Poomsawat S, Damrongsri SP, Wongchuensoontorn C. Odontogenic keratocyst and ameloblastoma: radiographic evaluation. Oral Radiology 2021; 37: 55-65. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
9 | Kosanwat T, Poomsawat S, Kitisubkanchana J. Non-endodontic periapical lesions clinically diagnosed as endodontic periapical lesions: A retrospective study over 15 years. J Clin Exp Dent 2021; 13(6): 586–93. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
10 | Kengkarn S , Songsak Petmitr S, Usa Boonyuen U, Reamtong O, Poomsawat S, Sanguansin S. Identification of Novel Candidate Biomarkers for Oral Squamous Cell Carcinoma Based on Whole Gene Expression Profiling. Pathol Oncol Res 2020; 26(4): 2315-25. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
11 | Tangtrongchitr P, Poomsawat S, Chongsrisawat V, Honsawek S, Poovorawan Y, Chongpison Y, Vejchapipat P. Hepatic expression of HGF/C-met and native liver survival in biliary atresia. Pediatric Surgery International 2020; 36: 597–602. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
12 | Kitisubkanchana J, Reduwan NH, Poomsawat S, Damrongsri SP, Wongchuensoontorn C. Odontogenic keratocyst and ameloblastoma: radiographic evaluation. Oral Radiology 2020 https:// doi: 10.1007/s11282-020-00425-2 |
ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
13 | Kosanwat T, Poomsawat S, Juengsomjit R. Ameloblastic carcinoma ex ameloblastoma of maxilla. Journal of Oral and Maxillofacial Pathology 2019; 23: 58-62. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
14 | Poomsawat S, Ngamsom S, Nonpassopon N. Primordial odontogenic tumor with prominent calcifications: A rare case report. J Clin Exp Dent 2019; 11(10): 952-6. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
15 | Rahman R, Poomsawat S, Juengsomjit R, Buajeeb W. Overexpression of Epstein-Barr virus-encoded latent membrane protein-1 (LMP-1) in oral squamous cell carcinoma. BMC Oral Health 2019; 19(1): 142. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
16 | Lapthanasupkul P, Juengsomjit R, Poomsawat S, Arayapisit T. Expression profile of polycomb group proteins in odontogenic keratocyst and ameloblastoma. Acta Histochem 2018; 120(3): 215-220. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
17 | Poomsawat S, Sanguansin S, Punyasingh J, Vejchapipat P, Punyarit P.
Expression of cdk6 in head and neck squamous cell carcinoma. Clin Oral Investig 2016; 20(1): 57-63. |
ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
18 | Lapthanasupkul P, Juengsomjit R, Klanrit P, Taweechaisupapong S, Poomsawat S. Oral and maxillofacial lesions in a Thai pediatric population: a retrospective review from two dental schools. J Med Assoc Thai 2015; 98(3): 291-7. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
19 | Juengsomjit R, Lapthanasupkul P, Poomsawat S, Larbcharoensub N. A clinicopathologic study of 1,047 cases of salivary gland tumors in Thailand. Quintessence Int. 2015; 46(8): 707-16. | ศ.ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Worawongvasu R. A comparative study of the oral epithelia of inflammatory hyperplasias and the dysplastic epithelia of oral squamous cell carcinoma by transmission electron microscopy. Journal of Oral and Maxillofacial Surgery, Medicine, and Pathology2021. https://doi.org/10.1016/j.ajoms.2021.08.006 |
รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
2 | Worawongvasu R. Scanning electron microscope characterization of noncarious cervical lesions in human teeth. J Oral Maxillofac Pathol 2021; 25(1): 202. | รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
3 | Worawongvasu R, Littilertanakorn N, Suksirimuch P, Lowpradit P, Sattanan W, Khamdi S. Scanning electron microscopic characterization of dental calculus in human teeth. M dent J 2018; 38(1): 71-77. | รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
4 | Worawongvasu R, Pipitsombat K, tunpresart P, Suwattipong M, Pravalpreukskul S. Scanning electron microscope characterization of attrition in human dental enamel. M dent J 2018; 38(1): 65-69. | รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
5 | รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ, ธนิศ จตุรเมธานนท์, ปรียศ มานะสุรการ, วิวุณี วิทยาวรางกูล, อาทิตยา ยนต์สุวรรณ. การศึกษาลักษณะผิวของคลองรากฟันโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราด. ว ทันต มหิดล 2560; 37(3): 357-363. | รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
6 | รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ, ญาณิศา วงษ์บัณฑิตย์, ฐิตินันท์ เกาสังข์, ดวงหทัย จีรเธียรนาถ, ภาวินี ว่องไว. ลักษณะของแท่งเคลือบฟันในมนุษย์โดยใช้จุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราด. ว ทันต มหิดล 2560; 37(3): 365-371. | รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
7 | รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ, คุนันยา พิมลบุตร, จตุพร ผารัตน์, จิตสุดา บุญเชิด, ชาคริต อรุณรัตน์สกุล, ภาคภูมิ ชัยทนุวงศ์. การศึกษารูปลายรากฟันของฟันกรามน้อยซี่ที่หนึ่งบนในคนไทยโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด. ว ศัลย์ช่องปาก-แม็กซิลโลเฟเชียล 2560; 31(1): 25-29. | รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
8 | รัฐพงษ์ วรวงค์วสุ, ถิระพร ศุภมิตรเสถียร, เพ็ญพร เหลืองชนะ, สลิษา พูนพงษ์.การศึกษาการละลายของรากฟันโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด. ว ศัลย์ช่องปาก-แม็กซิลโลเฟเชียล 2560; 31(1): 30-35. | รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
9 | Worawongvasu R. A Scanning Electron Microscopic Study of Enamel Surfaces of Incipient Caries. Ultrastruct Pathol 2015; 39(6): 408-12. | รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
10 | Worawongvasu R. Scanning Electron Microscope Characterization of Erosive Enamel in Human Teeth. Ultrastruct Pathol 2015; 39(6): 395-401. | รศ.ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Themkumkwun S, Lapthanasupkul P, Arunakul K. A Rare Case Report of Extraosseous Ameloblastic Carcinoma and Review Article on Diagnosis and Treatment Dilemma. Case Rep Dent. 2024 Jan 9;2024:4289276. doi: 10.1155/2024/4289276. PMID: 38229833; PMCID: PMC10791352. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
2 | Vorakulpipat P, Kitkumthorn N, Lapthanasupkul P, Rungraungrayabkul D, Klongnoi B, Khovidhunkit SP. Distribution of Epstein-Barr virus in the oral cavity of Thais with various oral mucosal conditions. Heliyon. 2024 Jan 9;10(2):e24222. doi: 10.1016/j.heliyon.2024.e24222. PMID: 38293426; PMCID: PMC10826676. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
3 | Pankam J, Lapthanasupkul P, Kitkumthorn N, Rungraungrayabkul D, Klongnoi B, Piboonniyom Khovidhunkit SO. Analysis of Epstein-Barr Virus Infection in Oral Potentially Malignant Disorders and Oral Cancer: A Cross-Sectional Study. J Int Soc Prev Community Dent. 2023 Jun 29;13(3):221-228. doi: 10.4103/jispcd.JISPCD_235_22. PMID: 37564166; PMCID: PMC10411295. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
4 | Khovidhunkit SP, Guddoos NA, Poomsawat S, Kengkarn S, Lapthanasupkul P, Punyarit P, Boonmongkolraksa P, Sanguansin S. Human Papillomavirus Prevalence and p16INK4a Expression in Formalin-fixed, Paraffin-embedded Tissues of Head and Neck Squamous Cell Carcinomas: A Retrospective Study. World J Dent 2023; 14 (7):569-575.doi: 10.5005/jp-journals-10015-2261 | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
5 | Tun KM, Kitkumthorn N, Bumalee D, Arayapisit T, Lapthanasupkul P. Differential expression of PEA3 in odontogenic cysts and tumors. J Oral Pathol Med. 2023 Sep;52(8):777-785. doi: 10.1111/jop.13476. Epub 2023 Aug 7. PMID: 37549030. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
6 | Tran ATL, Sukajintanakarn C, Senawongse P, Sritanaudomchai H, Ruangsawasdi N, Lapthanasupkul P, Kitkumthorn N, Monmaturapoj N, Chutikarn Khamsut C, Naruphontjirakul P, Pongprueksa P. Influence of Lithium- and Zinc-Containing Bioactive Glasses on Pulpal Regeneration. Eur J Dent 2023. DOI: 10.1055/s-0042-1758789 |
รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
7 | Banomyong D, Arayasantiparb R, Sirakulwat K, Kasemsuwan J, Chirarom N, Laopan N, Lapthanasupkul P. Association between Clinical/Radiographic Characteristics and Histopathological Diagnoses of Periapical Granuloma and Cyst. Eur J Dent 2023. DOI: 10.1055/s-0042-1759489 |
รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
8 | Bumalee D, Lapthanasupkul P, Songkampol K , Srimaneekarn N, Kitkumthorn N, Arayapisit T.Qualitative Histological Evaluation of Various Decalcifying Agents on Human Dental Tissue. Eur J Dent 2022 . doi: 10.1055/s-0042-1755615. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
9 | Rungraungrayabkul D, Lapthanasupkul P, Kitkumthorn N, Pankam J, Klongnoi B, Khovidhunkit SP .Epstein-Barr Virus Detection and LMP-1 Expression in Thai Patients with Oral Squamous Cell Carcinoma. Head Neck Pathol 2022. doi: 10.1007/s12105-022-01501-1. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
10 | Boonsong N, Laosuwan K, Kitkumthorn N, Lapthanasupkul P, Thosaporn W, Iamaroon A. Gene Mutations in the FGF-MAPK Signaling Pathway and Targeted Therapy in Ameloblastoma. CMUJ. Nat. Sci. 21(4): e2022054. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
11 | Tamboon E, Sihavong P, Kitkumthorn N, Bumalee D, Arayapisit T, Lapthanasupkul P. Association of HPV and EBV in Oral Verrucous Squamous Cell Carcinoma and Oral Verrucous Hyperplasia. Eur J Dent 2022; 16(2): 367-372. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
12 | Rungraungrayabkul D, Lapthanasupkul P, Panpradit N, Okuma N. An Unusual Presentation of Multiple Superficial Mucoceles Occurring with Oral Lichen Planus. Hindawi 2021. https://doi.org/10.1155/2021/2143829 |
รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
13 | Rungraungrayabkul D, Panpradit N, Lapthanasupkul P, Kitkumthorn N, Klanrit P, Subarnbhesaj A, Sresumatchai V , Klongnoi B, Khovidhunkit SP. Detection of Human Papillomavirus and p16 INK4a Expression in Thai Patients with Oral Squamous Cell Carcinoma. Head Neck Pathol 2021. http://doi: 10.1007/s12105-021-01381-x. |
รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
14 | Sihavong P, Kitkumthorn N, Srimaneekarn N, Bumalee D, Lapthanasupkul P. Differential Expression of EZH2 and H3K27me3 in Oral Verrucous Carcinoma and Oral Verrucous Hyperplasia. Head Neck Pathol 2021; 15(2): 408-15. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
15 | Lapthanasupkul P, Laosuk T, Ruangvejvorachai P, Aittiwarapoj A, Kitkumthorn N. Frequency of BRAF V600E mutation in a group of Thai patients with ameloblastomas. Oral Surg Oral Med Oral Pathol Oral Radiol 2021; 132(5): 180-5. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
16 | Lapthanasupkul P, Klongnoi B, Mutirangura A, Kitkumthorn N. Investigation of PTEN promoter methylation in ameloblastoma. Med Oral Patol Oral Cir Bucal 2020; 25(4): 481–7. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
17 | Trongkij P, Sutimuntanakul S, Lapthanasupkul P, Chaimanakarn C, Wong RH, Banomyong D. Pupal responses after direct pulp capping with two calcium-silicate cements in a rat model. Dental Materials Journal 2019; 38(4): 584–90. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
18 | Lapthanasupkul P, Songkampol K, Boonsiriseth K, Kitkumthorn N. Anaplastic large cell lymphoma of the palate: A case report. J Stomatol Oral Maxillofac Surg. 2019; 120(2): 172-5. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
19 | Aittiwarapoj A, Juengsomjit R, Kitkumthorn N, Lapthanasupkul P. Oral Potentially Malignant Disorders and Squamous Cell Carcinoma at the Tongue: Clinicopathological Analysis in a Thai Population.Eur J Dent 2019; 13(3):376-2. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
20 | Sihavong P, Lapthanasupkul P, Kitkumthorn N. Comparative expression of EXH2 between oral squamous cell carcinoma and oral verrucous carcinoma. In: Science Research 11 conference; 23-24 May 2019; Faculty of science Srinakharinwirot University. Bangkok Thailand: Faculty of science Srinakharinwirot University; 2019: 1269-77. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
21 | Lapthanasupkul P, Juengsomjit R, Poomsawat S, Arayapisit T. Expression profile of polycomb group proteins in odontogenic keratocyst and ameloblastoma. Acta Histochem 2018; 120(3): 215-220. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
22 | Panpradit N, Lapthanasupkul P. Plasma cell gingivitis associated with flower buds of clove: a case report. M Dent J 2017; 37(2): 155-162 | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
23 | Lapthanasupkul P, Juengsomjit R, Klanrit P, Taweechaisupapong S, Poomsawat S. Oral and maxillofacial lesions in a Thai pediatric population: a retrospective review from two dental schools. J Med Assoc Thai 2015; 98(3): 291-7. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
24 | Juengsomjit R, Lapthanasupkul P, Poomsawat S, Larbcharoensub N. A clinicopathologic study of 1,047 cases of salivary gland tumors in Thailand. Quintessence Int. 2015; 46(8): 707-16. | รศ.ดร.ทพญ.พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล |
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Klongnoi B, Bhattarai BP, Juengsomjit R, Meesakul O, Poomsawat S, Janebodin K, Khovidhunkit SP. Preliminary Study on the Expression of CLLD7 and CHC1L Proteins in Oral Squamous Cell Carcinoma. Eur J Dent. 2024 Feb;18(1):297-303. doi: 10.1055/s-0043-1768468. Epub 2023 Jun 13. PMID: 37311552; PMCID: PMC10959600. | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
2 | Rungraungrayabkul D, Rattanasiriphan N, Juengsomjit R. Mucous Membrane Pemphigoid Following the Administration of COVID-19 Vaccine. Head and Neck Pathol 2023. https://doi.org/10.1007/s12105-023-01539-9 | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
3 | Poomsawat S, Kariya A, Nimmanon T, Kosanwat T, Juengsomjit R, Sanguansin S. Diagnostic potential of Type VII Collagen during oral carcinogenesis. J Appl Oral Sci 2023. doi: 10.1590/1678-7757-2022-0486 | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
4 | Juengsomjit R, Meesakul O, Arayapisit T, Larbcharoensub N, Janebodin K. Polarized Microscopic Analysis of Picrosirius Red Stained Salivary Gland Pathologies: An Observational Study. Eur J Dent 2022. doi: 10.1055/s-0042-1743145. | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
5 | Sripodok P, Poomsawat S, Juengsomjit R, Kosanwat T. Intraoral Oncocytic Mucoepidermoid Carcinoma – A Rare Case Report and Review of the Literature. Ann Maxillofac Surg 2021; 11(2): 313–316. |
ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
6 | Kosanwat T, Poomsawat S, Juengsomjit R. Ameloblastic carcinoma ex ameloblastoma of maxilla. Journal of Oral and Maxillofacial Pathology 2019;23: 58-62. | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
7 | Bhattarai BP, Suppramote O, Jirawatnotai S, Meesakul O, Juengsomjit R, Janebodin K, Klongnoi B, Wongsirichat N, Surarit R, Puengsurin D, Piboonniyom Khovidhunkit S. A Preliminary Study of the Expression of p16INK4a, CLLD7, and CHC1L in Oral Squamous Cell Carcinoma. In: The 17th. International Scientific Conference of the Dental Faculty Consortium of Thailand (DFCT2019); 8-10 July 2019; Pullman Khon Kaen Raja Orchid. Khon Kaen Thailand: Faculty of dentistry Khon Kaen; 2019: 181-9. | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
8 | Rahman R, Poomsawat S, Juengsomjit R, Buajeeb W. Overexpression of Epstein-Barr virus-encoded latent membrane protein-1 (LMP-1) in oral squamous cell carcinoma. BMC Oral Health 2019; 19(1): 142. | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
9 | Aittiwarapoj A, Juengsomjit R, Kitkumthorn N, Lapthanasupkul P. Oral Potentially Malignant Disorders and Squamous Cell Carcinoma at the Tongue: Clinicopathological Analysis in a Thai Population.Eur J Dent 2019; 13(3):376-2. | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
10 | Lapthanasupkul P, Juengsomjit R, Poomsawat S, Arayapisit T. Expression profile of polycomb group proteins in odontogenic keratocyst and ameloblastoma. Acta Histochem 2018; 120(3): 215-220. | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
11 | Lapthanasupkul P, Juengsomjit R, Klanrit P, Taweechaisupapong S, Poomsawat S. Oral and maxillofacial lesions in a Thai pediatric population: a retrospective review from two dental schools. J Med Assoc Thai 2015; 98(3): 291-7. | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
12 | Juengsomjit R, Lapthanasupkul P, Poomsawat S, Larbcharoensub N. A clinicopathologic study of 1,047 cases of salivary gland tumors in Thailand. Quintessence Int. 2015; 46(8): 707-16. | ผศ.ทพ.ราชัย จึงสมจิตต์ |
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Poomsawat S, Choakdeewanitthumrong S, Sanguansin, Meesakul O, Kosanwat T. Immunohistochemical expression of SPARC in odontogenic keratocysts: a comparative study with other odontogenic cysts. BMC Oral Health 24, 223 (2024). https://doi.org/10.1186/s12903-024-03978-4 | อ. ทพ.ธีรชัย โกศัลวัฒน์ |
2 | Poomsawat S, Kariya A, Nimmanon T, Kosanwat T, Juengsomjit R, Sanguansin S. Diagnostic potential of Type VII Collagen during oral carcinogenesis. J Appl Oral Sci 2023. doi: 10.1590/1678-7757-2022-0486 | อ. ทพ.ธีรชัย โกศัลวัฒน์ |
3 | Poomsawat S , Kosanwat T, Meesakul O, Sanguansin S. Epithelial and fibroblast SPARC expression patterns in oral leukoplakia and oral squamous cell carcinoma. Oral Surg Oral Med Oral Pathol Oral Radiol 2022;134(2): 44-50. | อ. ทพ.ธีรชัย โกศัลวัฒน์ |
4 | Sripodok P, Poomsawat S, Juengsomjit R, Kosanwat T. Intraoral Oncocytic Mucoepidermoid Carcinoma – A Rare Case Report and Review of the Literature. Ann Maxillofac Surg 2021; 11(2): 313–316. |
อ. ทพ.ธีรชัย โกศัลวัฒน์ |
5 | Kosanwat T, Poomsawat S, Kitisubkanchana J. Non-endodontic periapical lesions clinically diagnosed as endodontic periapical lesions: A retrospective study over 15 years. J Clin Exp Dent 2021; 13(6): 586–93. | อ. ทพ.ธีรชัย โกศัลวัฒน์ |
6 | Kosanwat T, Poomsawat S, Juengsomjit R. Ameloblastic carcinoma ex ameloblastoma of maxilla. Journal of Oral and Maxillofacial Pathology 2019;23: 58-62. | อ. ทพ.ธีรชัย โกศัลวัฒน์ |
7 | Mitrakul K, Srisatjaluk R, Srisukh V, Lomarat P, Vongsawan K, Kosanwat T, Cymbopogon Citratus (Lemongrass Oil) Oral Sprays as Inhibitors of Mutans Streptococci Biofilm Formation. JCDR 2018; 12(12): 6-12. | อ. ทพ.ธีรชัย โกศัลวัฒน์ |
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Vijintanawan S, Chettri K, Aittiwarapoj A, Wongsirichat N. A Rare Case Report of Hybrid Central Odontogenic Fibroma with Central Giant Cell Granuloma Like Lesion with the Literature Review.Sirirat Mrd J 2019; 71: 414-19. | ทพญ.อัญชิสา อิทธิวราพจน์ |
2 | Aittiwarapoj A, Juengsomjit R, Kitkumthorn N, Lapthanasupkul P. Oral Potentially Malignant Disorders and Squamous Cell Carcinoma at the Tongue: Clinicopathological Analysis in a Thai Population.Eur J Dent 2019; 13(3):376-2. | ทพญ.อัญชิสา อิทธิวราพจน์ |
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Sripodok P, Saito H, Kouketsu A, Takahashi T, Kumamoto H. Correction to: Immunoexpression of SIRT1, 6, and 7 in oral leukoplakia and oral squamous cell carcinoma. Odontology. 2024 Jan;112(1):230-231. doi: 10.1007/s10266-023-00825-w. Erratum for: Odontology. 2024 Jan;112(1):221-229. PMID: 37318652. | อ. ทพ.ภวัต ศรีโปดก |
2 | Sripodok P, Kouketsu A, Kuroda K, Miyashita H, Sugiura T, Kumamoto H. Primary Oral Mixed Neuroendocrine-Non-neuroendocrine Neoplasm (MiNEN): A Rare Case Report and Review of the Literature. Head Neck Pathol. 2024 Feb 23;18(1):13. doi: 10.1007/s12105-024-01613-w. PMID: 38393494; PMCID: PMC10891016. | อ. ทพ.ภวัต ศรีโปดก |
3 | Sripodok P, Saito H, Kouketsu A, Takahashi T, Kumamoto H. Correction to: Immunoexpression of SIRT1, 6, and 7 in oral leukoplakia and oral squamous cell carcinoma. Odontology. 2024 Jan;112(1):230-231. doi: 10.1007/s10266-023-00825-w. Erratum for: Odontology. 2024 Jan;112(1):221-229. PMID: 37318652. | อ. ทพ.ภวัต ศรีโปดก |
4 | Sripodok P, Poomsawat S, Juengsomjit R, Kosanwat T. Intraoral Oncocytic Mucoepidermoid Carcinoma – A Rare Case Report and Review of the Literature. Ann Maxillofac Surg 2021; 11(2): 313–316. |
อ. ทพ.ภวัต ศรีโปดก |
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Poomsawat S, Choakdeewanitthumrong S, Sanguansin, Meesakul O, Kosanwat T. Immunohistochemical expression of SPARC in odontogenic keratocysts: a comparative study with other odontogenic cysts. BMC Oral Health 24, 223 (2024). https://doi.org/10.1186/s12903-024-03978-4 | อ. ทพญ.ศิรดา โชคดีวาณิชย์ธำรง |
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Tun KM, Kitkumthorn N, Bumalee D, Arayapisit T, Lapthanasupkul P. Differential expression of PEA3 in odontogenic cysts and tumors. J Oral Pathol Med. 2023 Sep;52(8):777-785. doi: 10.1111/jop.13476. Epub 2023 Aug 7. PMID: 37549030. | นายดุสิต บุมาลี |
2 | Bumalee D, Lapthanasupkul P, Songkampol K , Srimaneekarn N, Kitkumthorn N, Arayapisit T.Qualitative Histological Evaluation of Various Decalcifying Agents on Human Dental Tissue. Eur J Dent 2022 . doi: 10.1055/s-0042-1755615. | นายดุสิต บุมาลี |
3 | Tamboon E, Sihavong P, Kitkumthorn N, Bumalee D, Arayapisit T, Lapthanasupkul P. Association of HPV and EBV in Oral Verrucous Squamous Cell Carcinoma and Oral Verrucous Hyperplasia. Eur J Dent 2022; 16(2): 367-372. | นายดุสิต บุมาลี |
4 | Sihavong P, Kitkumthorn N, Srimaneekarn N, Bumalee D, Lapthanasupkul P. Differential Expression of EZH2 and H3K27me3 in Oral Verrucous Carcinoma and Oral Verrucous Hyperplasia. Head Neck Pathol 2021; 15(2): 408-15. | นายดุสิต บุมาลี |
5 | Bumalee D, Lapthanasupkul P, Tamboon E, Aittiwarapoj A, Klongnoi B, Kitkumthorn N. Low Frequency of Human Papillomavirus and Epstein-Barr Virus DNA in Ameloblastoma of Thai Patients. World Journal of Dentistry 2020; 11(6): 446-50. | นายดุสิต บุมาลี |
6 | อุ่นเรือน มีสกุล, ดุสิต บุมาลี. การศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการการตรวจชิ้นเนื้อของภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ใน: การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 3 นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก Disruptive Innovation; วันที่ 25 พ.ค. 2561; มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชธานี; 2561: หน้า 1254-61. | นายดุสิต บุมาลี |
7 | Bumalee D, Meesakul O. The comparative study of the effectiveness of decalcifying agent on human jaws. M dent J 2017; 37(3): 327-38. | นายดุสิต บุมาลี |
ลำดับ | งานวิจัยที่ตีพิมพ์ | ผู้วิจัย |
1 | Klongnoi B, Bhattarai BP, Juengsomjit R, Meesakul O, Poomsawat S, Janebodin K, Khovidhunkit SP. Preliminary Study on the Expression of CLLD7 and CHC1L Proteins in Oral Squamous Cell Carcinoma. Eur J Dent. 2024 Feb;18(1):297-303. doi: 10.1055/s-0043-1768468. Epub 2023 Jun 13. PMID: 37311552; PMCID: PMC10959600. | นางอุ่นเรือน มีสกุล |
2 | Poomsawat S, Choakdeewanitthumrong S, Sanguansin, Meesakul O, Kosanwat T. Immunohistochemical expression of SPARC in odontogenic keratocysts: a comparative study with other odontogenic cysts. BMC Oral Health 24, 223 (2024). https://doi.org/10.1186/s12903-024-03978-4 | นางอุ่นเรือน มีสกุล |
3 | Poomsawat S , Kosanwat T, Meesakul O, Sanguansin S. Epithelial and fibroblast SPARC expression patterns in oral leukoplakia and oral squamous cell carcinoma. Oral Surg Oral Med Oral Pathol Oral Radiol 2022;134(2): 44-50. | นางอุ่นเรือน มีสกุล |
4 | Juengsomjit R, Meesakul O, Arayapisit T, Larbcharoensub N, Janebodin K. Polarized Microscopic Analysis of Picrosirius Red Stained Salivary Gland Pathologies: An Observational Study. Eur J Dent 2022. doi: 10.1055/s-0042-1743145. | นางอุ่นเรือน มีสกุล |
5 | Bhattarai BP, Suppramote O, Jirawatnotai S, Meesakul O, Juengsomjit R, Janebodin K, Klongnoi B, Wongsirichat N, Surarit R, Puengsurin D, Piboonniyom Khovidhunkit S. A Preliminary Study of the Expression of p16INK4a, CLLD7, and CHC1L in Oral Squamous Cell Carcinoma. In: The 17th. International Scientific Conference of the Dental Faculty Consortium of Thailand (DFCT2019); 8-10 July 2019; Pullman Khon Kaen Raja Orchid. Khon Kaen Thailand: Faculty of Dentistry Khon Kaen University; 2019: 181-9. | นางอุ่นเรือน มีสกุล |
6 | อุ่นเรือน มีสกุล, ดุสิต บุมาลี. การศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการการตรวจชิ้นเนื้อของภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ใน: การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 3 นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก Disruptive Innovation; วันที่ 25 พ.ค. 2561; มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชธานี; 2561: หน้า 1254-61. | นางอุ่นเรือน มีสกุล |
7 | Bumalee D, Meesakul O. The comparative study of the effectiveness of decalcifying agent on human jaws. M dent J 2017; 37(3): 327-38. | นางอุ่นเรือน มีสกุล |
1. เป็นชิ้นเนื้อที่ตัดมาจากในช่องปากเท่านั้น ตัวอย่างเช่น กระพุ้งแก้ม ลิ้น เหงือก เพดานปาก เป็นต้น
2. ใช้ใบขอส่งตรวจชิ้นเนื้อของภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลเท่านั้น ซึ่งต้องมีการกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน สำหรับหน่วยงานภายในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สามารถพิมพ์ใบขอส่งตรวจชิ้นเนื้อได้โดยการเข้าระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล (DTHIS) กรณีหน่วยงานภายนอกคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้จาก website ของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หรือผู้ต้องการส่งชิ้นเนื้อสามารถมาขอรับใบส่งตรวจชิ้นเนื้อได้ที่ ภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียลคณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล อาคารพรีคลินิกชั้น 5
3. ภาชนะบรรจุสิ่งส่งตรวจต้องเป็นภาชนะแก้วหรือพลาสติกที่มีปากกว้าง มีฝาปิดสนิทและมีขนาดเหมาะสมกับชิ้นเนื้อ หรืออาจใช้ถุงพลาสติกได้เช่นกัน โดยใช้อย่างน้อย 2 ชั้น รัดปากถุงแต่ละชั้นให้แน่น ที่สำคัญภาชนะทุกชิ้นต้องมีฉลากระบุชื่อ นามสกุล เลขที่เวชระเบียนของผู้ป่วย วันที่ทำการผ่าตัด และข้อมูลทั้งหมดต้องตรงกับที่ระบุในใบขอส่งตรวจชิ้นเนื้อ
4. ใช้น้ำยา 10% Neutral Buffered Formalin เป็นน้ำยาคงสภาพชิ้นเนื้อเเละน้ำยาต้องมีปริมาตรเป็น 10 เท่า ของปริมาตรของชิ้นเนื้อ
5. ได้ชำระค่าตรวจตามอัตราค่าบริการตรวจชิ้นเนื้อของคณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล สำหรับหน่วยงานภายในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ต้องชำระเงินผ่านระบบ DTHIS ส่วนหน่วยงานภายนอกคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลให้ชำระโดยตรงที่ภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียลโดยจะได้รับใบเสร็จรับเงินพร้อมกับใบรายงานผลการวินิจฉัย
1. สิ่งที่ต้องจัดเตรียม
1.1 ใบขอส่งตรวจชิ้นเนื้อที่สามารถดาวน์โหลดจาก website ของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (https://dt.mahidol.ac.th/th) โดยในใบขอส่งตรวจชิ้นเนื้อต้องกรอกรายละเอียดครบถ้วน และเขียนด้วยตัวบรรจงและใช้ปากกาหมึกแห้งที่ไม่ลบหรือจาง
1.2 ภาชนะบรรจุสิ่งส่งตรวจ ควรใช้ภาชนะปากกว้าง เช่น ขวดแก้วหรือขวดพลาสติกที่มีฝาปิดสนิท โดยที่ภาชนะจะต้องติดฉลากที่ระบุข้อมูลผู้ป่วย ได้แก่
– ชื่อ-นามสกุล / อายุ / เพศ
1.3 น้ำยา 10% Neutral Buffered Formalin เพื่อใส่ในภาชนะบรรจุสิ่งส่งตรวจ
1.4 กล่องพัสดุเพื่อส่งไปรษณีย์
2. การนำส่งชิ้นเนื้อ
2.1 ให้นำชิ้นเนื้อที่บรรจุในภาชนะห่อด้วยถุงพลาสติก 2 ชั้นและให้ใช้พลาสติกกันกระแทกเพื่อกันภาชนะแตกเสียหายพร้อมนำใบขอส่งตรวจชิ้นเนื้อซึ่งใส่ในซองพลาสติกอีกซองหนึ่งเพื่อกันเปียก บรรจุในกล่องพัสดุปิดผนึกให้เรียบร้อย
2.2 หน้ากล่องพัสดุให้จ่าหน้าถึง ภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 6 ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร 02-200-7829 (ชิ้นเนื้อเพื่อส่งตรวจ)
2.3 กรณีใช้บริการของบริษัทขนส่งเอกชน กรุณาให้พนักงานของบริษัทนั้นๆ โทรที่หมายเลข 02-200-7829 เมื่อมาถึงคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของภาควิชาฯไปรับพัสดุ เพื่อป้องกันการสูญหาย
ข้อแนะนำในการส่งชิ้นเนื้อเพื่อตรวจวินิจฉัย
1. ในการรักษาสภาพเนื้อ ให้ใช้น้ำยา formalin ความเข้มข้น 10% (Buffered neutral formalin solution, formalin saline solution) ซึ่งสามารถเตรียมได้ตามวิธีข้างท้าย
2. นำชิ้นเนื้อบรรจุในขวดแก้วปากกว้างขนาดพอเหมาะ มีฝาปิดสนิท ไม่รั่วซึม โดยควรให้น้ำยาท่วม formalin ชิ้นเนื้อ และมีปริมาตรประมาณ 10 เท่าของชิ้นเนื้อ ด้านนอกขวดปิดชื่อผู้ป่วยให้ชัดเจน
3. นำขวดชิ้นเนื้อบรรจุในถุงพลาสติกอีกประมาณ 2 ชั้น ป้องกันกรณีขวดแก้วรั่วซึมหรือแตก และปิดปากถุงให้เรียบร้อย
*ไม่ควรใช้ถุงพลาสติกบรรจุน้ำยาและชิ้นเนื้อโดยตรง เพราะส่วนใหญ่ถุงพลาสติกจะแตกหรือรั่วซึม ทำให้เกิดความเสียหาย เช่น ชิ้นเนื้อหาย ชิ้นเนื้อติดอยู่ที่ขอบถุงไม่ได้ถูกน้ำยา formalin ทำให้เนื้อเน่าไม่สามารถให้การวินิจฉัยได้ หรือน้ำยา formalin เปื้อนใบส่งตรวจ เป็นต้น
ในกรณีส่งชิ้นเนื้อทางพัสดุภัณฑ์ให้บรรจุขวดชิ้นเนื้อที่ผนึกแน่นหนาแล้วลงกล่องกระดาษที่แข็งแรง โดยควรใช้กระดาษฝอยหรือเศษกระดาษอัดป้องกันขวดชิ้นเนื้อไม่ให้เคลื่อนที่ไปมา
วิธีเตรียม Buffered Neutral Formalin Solution**
น้ำยาที่ใช้
37-40% formalin 100.0 ml.
Distilled water (น้ำกลั่น) 900.0 ml.
Sodium phosphate monobasic 4.0 gm.
Sodium phosphate dibasic [anhydrous] 6.5 gm.
**The best overall fixative, therefore strongly recommended for routine use.
วิธีเตรียม Formalin Saline Solution (ในกรณีที่ไม่มีน้ำกลั่น)
วิธีที่ 1
37 – 40% formalin 100.0 ml.
Sodium chloride 9.0 gm.
Tap water 900.0 ml.
วิธีที่ 2
37 – 40% formalin 100.0 ml.
Normal saline solution 900.0 ml.
ลำดับที่ | บทความเรื่อง | อาจารย์ผู้เขียนบทความ |
1. | บทความเรื่อง “การเกิดมะเร็งช่องปาก ปัจจัยเสียงและการป้องกัน”จากหนังสือเรื่อง แนวทางการตววจและจัดการมะเร็งช่องปาก สำหรับทันตบุคลากร | รศ. ทพ.วรนัติ วีระประดิษฐ์ |
2. | Editorial Board จากหนังสือ Oral Medicine & Pathology Vol.14 No.041-079.2009. | รศ. ทพ.วรนัติ วีระประดิษฐ์ |
3. | บทความเรื่องมะเร็งช่องปาก จากหนังสือสุขภาพช่องปากดี ชีวีมีสุขเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี | รศ. ทพ.วรนัติ วีระประดิษฐ์ |
4. | ตำราเรื่อง วิทยาเนื้อเยื่อช่องปาก Oral Pathology | รศ. ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
5. | ตำราเรื่อง พยาธิวิทยาช่องปาก ศัลยพยาธิวิทยาและการวินิจฉัยแยกโรคทางคลินิก(Oral Pathology: Surgical Pathology and Clinical Differential Diagnosis). | รศ. ทพ.รัฐพงษ์ วรวงศ์วสุ |
6. | หนังสือ เรื่อง เนื้องอกโอดอนโทเจนิก (Odontogenic tumours). | ศ. ดร.ทพญ.โสภี ภูมิสวัสดิ์ |
งานนิทรรศการ “DTMU Story telling เรื่องเล่า DTMU บางทีเราอาจไม่เคยรู้”
เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2567 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์สุรกิจ วิสุทธิวัฒนากร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวรายงานการจัดงานนิทรรศการ “DTMU Story telling เรื่องเล่า DTMU บางทีเราอาจไม่เคยรู้” เรื่อง รังสีชี้โรคฟัน โดยได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร. ทันตแพทย์หญิงจิรา กิติทรัพย์กาญจนา หัวหน้าภาควิชารังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล กล่าวถึงวัตถุประสงค์การจัดงานในครั้งนี้ จากนั้น ศาสตราจารย์คลินิก ดร. นายแพทย์ ทันตแพทย์ศิริชัย เกียรติถาวรเจริญ คณบดี ให้เกียรติกล่าวเปิดงาน และเปิดงานนิทรรศการ “รังสีชี้โรคฟัน” จัดโดย ภาควิชารังสีวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียลร่วมกับหน่วยพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ โดยมีแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน พร้อมถ่ายภาพร่วมกัน ณ สิรินธรทันตพิพิธ ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา
ดูภาพกิจกรรมได้ที่ : https://dt.mahidol.ac.th/event-pic/20240508-1/
งานนิทรรศการ “DTMU Story telling เรื่องเล่า DTMU บางทีเราอาจไม่เคยรู้”
เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2566 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์สุรกิจ วิสุทธิวัฒนากร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดงานนิทรรศการ “DTMU Story telling เรื่องเล่า DTMU บางทีเราอาจไม่เคยรู้” ซึ่งจัดขึ้นเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ครบรอบ 55 ปี จากนั้น ศาสตราจารย์คลินิก ดร. นายแพทย์ ทันตแพทย์ศิริชัย เกียรติถาวรเจริญ คณบดี ให้เกียรติกล่าวเปิดงาน และเปิดงานนิทรรศการ “เรื่องเล่าจากชิ้นเนื้อ” จัดโดย ภาควิชาพยาธิวิทยาและแม็กซิลโลเฟเชียลร่วมกับหน่วยพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ โดยมีแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน พร้อมถ่ายภาพร่วมกัน ณ สิรินธรทันตพิพิธ ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา
ดูภาพกิจกรรมได้ที่ : https://dt.mahidol.ac.th/th/dt_gallery/20230607-5/
ขอแสดงความยินดีกับ
ผศ. ดร. ทพญ พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล
ที่ได้รับรางวัล Best Poster Presentation Award
เรื่อง
Immunostaining of BRAF V600E Mutation In Ameloblastomas.
ในงานประชุมวิชาการนานาชาติทางทันตแพทย์ลุ่มแม่น้ำโขง
The 14th International Dental Collaboration of the Mekong River Region Congress (IDCMR)
ระหว่างวันที่ 17-19 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ณ Kunming Kai Wah Plaza International Hotel
เมืองคุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน
1. ผศ. ดร. ทพญ พวงวรรณ ลาภธนทรัพย์กุล
2. อ.ทพญ.อัญชิสา อิทธิวราพจน์
3. นายดุสิต บุมาลี
ได้เข้าร่วมประชุมเพื่อนำเสนอผลงาน poster presentation
เรื่อง
1. Immunostaining of BRAF V600E Mutation In Ameloblastomas.
2. Expression of P53 In Ameloblatoma.
3. Frequency of HPV and EBV DNA In a Group of Thai Ameloblastoma Patients.
งานประชุมวิชาการนานาชาติทางทันตแพทย์ลุ่มแม่น้ำโขง
The 14th International Dental Collaboration of the Mekong River Region Congress (IDCMR)
ระหว่างวันที่ 17-19 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ณ Kunming Kai Wah Plaza International Hotel
เมืองคุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน
อ.ทพญ.อัญชิสา อิทธิวราพจน์ เข้าร่วมประชุมเพื่อนำเสนอผลงาน
เรื่อง Oral kaposi sarcoma: a case report
ในงานองค์กรผู้บริหารคณะทันตแพทย์แห่งประเทศไทย (อบทท.) ระหว่างวันที่ 18-19 กรกฎาคม 2561 และ
งานประชุม International dental collaboration of the mekong river region congress (IDCMRs)
ระหว่างวันที่ 24-26 สิงหาคม 2561
ภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล คณะทันตแพทยศาสตร์ ม.มหิดล
– สำนักงานเลขานุการและห้องพักอาจารย์ ตั้งอยู่ที่อาคารพรีคลินิก ชั้น 5
โทรศัพท์ 02-200-7829-30 โทรสาร 02-200-7829
– ห้องปฏิบัติการตรวจชิ้นเนื้อ ตั้งอยู่ที่อาคารพรีคลินิก ชั้น 4
โทรศัพท์ภายใน ต่อ 4014
– ห้องปฏิบัติการวิจัย ภาควิชาพยาธิวิทยาช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล
ตั้งอยู่ที่อาคารปฏิบัติการวิจัย ชั้น 7
โทรศัพท์ภายใน ต่อ 4013