MU DENT faculty of dentistry
ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์
“มุ่งมั่นสร้างและพัฒนาบัณฑิต ผลิตงานวิจัยงานวิชาการ
บริการรักษาทางวิชาชีพ ในระดับสากล เพื่อเป็นปัญญาของแผ่นดิน”
ปรัชญา
ปณิธาน
วิสัยทัศน์
วัตถุประสงค์
ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
1. สร้างบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางทันตกรรมประดิษฐ์ ที่เป็นสากล มีจริยธรรม จรรยาวิชาชีพ ตระหนักรูู้จะพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
2. จัดการเรียนการสอนโดยเพิ่มการใช้นวัตกรรมการศึกษา เน้นความต้องการของผู้เรียนและพัฒนาความคิดเชิงวิพากษ์
3. ผลิตและพัฒนางานวิจัยทางคลินิก ทันตวัสดุ และผู้สูงวัย ในระดับสากล สร้างเครือข่ายการทำวิจัย
4. สร้างและส่งเสริมการเผยแพร่วิชาการสู้วิชาชีพและสังคม
5. ให้การรักษาทางทันตกรรมประดิษฐ์ ทันตกรรมประดิษฐ์ทันตกรรมรากเทียม การประดิษฐ์ใบหน้าและขากรรไกร แบบองค์รวม ด้วยความใส่ใจ มีมาตรฐานคู่คุณธรรม
6. สร้างโอกาสและสนับสนุนการเพิ่มศักยภาพและพัฒนาบุคลากร สอดคล้องกับนโยบายของคณะ
7. ส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษามีความผูกพันและภูมิใจในองค์กร/สถาบัน
8. สร้างและพัฒนากลไกการบริหารจัดการภาควิชาฯ ให้ได้ประสิทธิผลตามพันธกิจ
รองหัวหน้าภาควิชา
Deputy Head of Department
สาขาทันตกรรมประดิษฐ์
รศ. ดร.ทพญ.ตรีนุช เอี่ยมพงษ์ไพบูลย์
ปัจจุบันภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์รับผิดชอบการเรียนการสอนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาทันตกรรมประดิษฐ์
และสาขาประดิษฐ์ใบหน้าขากรรไกร จำนวน 6 หลักสูตร คือ
ทันตกรรมประดิษฐ์
1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาทันตแพทยศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) วิชาเอกทันตกรรมประดิษฐ์
Master of Science Programme in Dentistry (International Programme)
รศ ดร สมศักดิ์ จิตร์มงคลสุข Assoc. Prof. Dr. Somsak Chitmongkolsuk
ผู้รับผิดชอบวิชาเอก
2. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาทันตกรรมประดิษฐ์ทันตกรรมรากเทียม (หลักสูตรนานาชาติ)
Higher Graduate Diploma Program in Dental Implant Prosthodontics (International Program)
รศ ดร สมชาย อุรพีพล Assoc. Prof. Dr. Somchai Urapepon
ประธานหลักสูตร
3. หลักสูตรการฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้าน สาขาทันตกรรมประดิษฐ์
Residency Training Program in Prosthodontics
ผศ เปรมวรา ตรีวัฒนา Asst. Prof. Premwara Triwatana
ผู้อำนวยการหลักสูตร
หน่วยประดิษฐ์ใบหน้าและขากรรไกร
1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) วิชาเอกการประดิษฐ์ใบหน้าขากรรไกร
Master of Science Program in Dentistry major in Maxillofacial Prosthetics (International Program)
ผศ ม.ล.ธีรธวัช ศรีธวัช Asst. Prof. M.L. Theerathavaj Srithavaj
ผู้รับผิดชอบวิชาเอก
2. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาการประดิษฐ์ใบหน้าขากรรไกร (หลักสูตรนานาชาติ)
Graduate Diploma in Clinical Science (Maxillofacial Prosthetics) (Grad.Dip.)
ผศ ดร ณัฐดนัย โชติประเสริฐ Lect. Dr. Natdhanai Chotprasert
ประธานหลักสูตร
ในระดับปริญญาตรี ภาควิชาฯได้ร่วมสอนในหลักสูตร
1. หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิต
2. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีทันตกรรม (ต่อเนื่อง 2 ปี)
ผลงานวิจัยที่ลงพิมพ์ในปี 2549 (ระดับนานาชาติ 4 เรื่อง และระดับชาติ 12 เรื่อง)
1. Stappert C.F.J., Guess P.C., Chitmongkolsuk S., Gerd T., Strub J.R. All-ceramic partial coverage restorations on natural molars. Masticatory fatigue loading and fracture resistance. American Journal of Dentistry. 2007 ; 20(1) : pp. 21-26.
2. Stappert C.F.J., Guess P.C., Chitmongkolsuk S., Gerds T., Strub J.R. Partial coverage restoration systems on molars-Comparison of failure load after exposure to a mastication simulator. Journal of Oral Rehabilitation. 2006 ; 33(9) : pp. 698-705.
3. Srithavaj T., Thaweboon S. Determination of oral microflora in irradiated ocular deformed children. Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health. 2006 ; 37(5) : pp. 991-995.
4. Banditmahakun S., Kuphasuk W., Kanchanavasita W., Kuphasuk C. The effect of base materials with different elastic moduli on the fracture loads of machinable ceramic inlays. Operative Dentistry. 2006 ; 31(2) : pp. 180-187.
5. สมศักดิ์ จิตร์มงคลสุข, วิชญ กาญจนะวสิต, ฉันทนา ตุลาพรชัย. ผลของเทอร์โมไซคลิงต่อกำลังดัดขวางในแนวสองแกนของเซรามิกที่ยึดติดกับเนื้อฟัน. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 26 (2) : 55.
6. วิชญ กาญจนะวสิต, วัชราภรณ์ คูผาสุข. ผลของการใช้สารเคลือบผิวภายหลังการขัดต่อความต้านแรงดัดโค้งของวัสดุบูรณะเรซินคอมโพสิตและกลาสไอโอโนเมอร์. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 26(2) : 75.
7. พีระ สิทธิอำนวย, กัลยา ศุพุทธมงคล, เขมริน ศมาวรรตกุล. ประสิทธิภาพการใช้งานทางคลินิกของฟันเทียมติดแน่นเซรามิกส์. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 26(2) : 131.
8. โชติรส คูผาสุข, วัชราภรณ์ คูผาสุข, พิศลย์ เสนาวงษ์, จิรภัทร มงคลขจิต. กำลังยึดต้านแรงเฉือนในพื้นที่ผิวสัมผัสขนาดเล็กระหว่างเรซินคอมโพสิตชนิดอินไดเร็กกับโลหะเจือโคบอลต์-โครเมียม. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 26(2) : 145.
9. กัลยา ศุพุทธมงคล, ชัชรี สุชาติล้ำพงศ์, สิริอร ชุมวรรณ. ผลของการใช้ซิงค์ออกไซด์เพื่อเป็นวัสดุหารอยกดเกินต่อการยึดอยู่ของเดือยฟัน. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 26(2) : 159.
10. สมศักดิ์ จิตร์มงคลสุข, พีระ สิทธิอำนวย, สมชาย อุรพีพล, พร้อมพงศ์ หิรัฐเจริญนนท์. ผลของการเป่าทรายต่อแรงยึดเฉือนระหว่างทองบริสุทธิ์-ซีเมนต์ เรซิน-ผิวเนื้อฟัน. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 25(1-3) : 11.
11. รพีพรรณ นาคะสิริ, พิมพ์วิภา อักษรกุล. ความทนแรงดัดของเรซินทำฐานฟันปลอมที่ซ่อมแบบมีและไม่มีเส้นใยเสริมแรงร่วมด้วย. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 25(1-3) : 19.
12. สมศักดิ์ จิตร์มงคลสุข, รพีพรรณ นาคะสิริ, สมชาย อุรพีพล, พร้อมพงศ์ หิรัฐเจริญนนท์. ผลของเทอร์โมไซคลิง การเป่าทราย และซีเมนต์เรซินต่อแรงยึดเฉือนระหว่างทองบริสุทธิ์-เรซิน-เนื้อฟัน. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 25(1-3) : 29.
13. วิชญ กาญจนะวสิต. การศึกษาสมบัติด้านความร้อนของซีเมนต์ยึดทางทันตกรรม. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 25(1-3) : 39.
14. บัณฑิต จิรจริยาเวช, สมชาย อุรพีพล, ม.ล. ธีรธวัช ศรีธวัช, บดินทร์ กังวานณรงค์กุล. ความทนแรงตึงของวัสดุยืดหยุ่นในงานประดิษฐ์ใบหน้าขากรรไกร. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 25(1-3) : 51.
15. ม.ล. ธีรธวัช ศรีธวัช, สิตา ถาวรนันท์, จิรัสย์ บุนนาค. การใช้ฐานฟันปลอมดัดแปลงในการรักษาผู้ป่วยอ้าปากได้จำกัดเนื่องจากการใช้รังสีรักษามะเร็งบริเวณศีรษะและลำคอ. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 26(3) : 227.
16. ม.ล. ธีรธวัช ศรีธวัช, ภาณุเพ็ญ สิทธิสมวงศ์. การทดสอบเดอมาโตมอล ( dermatomal test) ในผู้ป่วยใบหูเล็กแต่กำเนิด ที่ได้รับการฝังสกรูไทเทเนียม. ว. ทันต. มหิดล 2549 ; 26(3) : 261.
ผลงานวิจัยที่ลงพิมพ์ในปี 2548 (ระดับนานาชาติ 4 เรื่อง และระดับชาติ 15 เรื่อง)
1. Nagasiri R, Chitmongkolsuk S. Long-term survival of endodontically treated molars without crown coverage : a retrospective cohort study. J Prosthet Dent. 2005 Feb; 93 (2) : 164-70.
2. Promsudthi A, Pimapansri S, Deerochanawong C, Kanchanavasita W. The effect of periodontal therapy on uncontrolled type 2 diabetes mellitus in older subjects. Oral Dis. 2005 Sep; 11(5) : 293-8.
3. Asvanund C, Morgano SM. Restoration of unfavorably positioned implants for a partially endentulous patient by using an overdenture retained with a milled bar and attachments : a clinical report. J Prosthet Dent. 2004 ; 91(1) : 6-10
4. Stappert CF, Dai M, Chitmongkolsuk S, Gerds T, Strub JR. Marginal adaptation of three-unit fixed partial dentures constructed from pressed ceramic systems. Br Dent J. 2004. Jun 26 ; 196 (12) : 766-70.
5. รพีพรรณ นาคะสิริ, พิมพ์วิภา อักษรกุล, บดินทร์ กังวานณรงค์กุล, จุฑามาศ เทพไชย. ฟันปลอมไนลอน ว. ทันตกรรมประดิษฐ์ไทย 2548 ; 1(2) : 43-48.
6. โชติรส คูผาสุก, วรเทพ บุญรอด, รุ่งฤดี จิวางกูร, ประยุกต์วิธีการบันทึกรอยเคี้ยวใช้งาน. ว. ทันตกรรมประดิษฐ์ไทย 2548 ; 1(2) : 56-59.
7. สมชาย อุรพีพล. CAD/CAM คลื่นเทคโนโลยีที่ไล่เข้ามา คุณพร้อมหรือยัง. ว. ทันตกรรมประดิษฐ์ไทย 2548 ; 1(2) : 60-61.
8. สมชาย อุรพีพล, จิรภัทร มงคลขจิต, ประเสริฐ สิทธิผลวณิชกุล. การเทียบสีฟันด้วยเครื่องเทียบสีฟัน. ว. ทันตกรรมประดิษฐ์ไทย 2548 ; 2(1) : 12-20.
9. สุธาสินี เกษมศานติ์, ศรัณย์ วงศ์จรูญโรจน์, สิริลักษณ์ วงศ์สกุลวิวัฒน์. การวางแผนการฝังรากเทียมแบบ 3 มิติ โดยใช้ภาพถ่ายรังสีโทโมแกรมและโปรแกรมคอมพิวเตอร์. ว. ทันตกรรมประดิษฐ์ไทย 2548 ; 2(1) : 21-26.
10. พรปวีณ์ ดีจริง, พร้อมพงศ์ หิรัฐเจริญนนท์. ตัวยึดอย่างง่ายสำหรับฟันปลอมทับราก. ว. ทันตกรรมประดิษฐ์ไทย 2548; 2(1) : 32-34.
11. สมศักดิ์ จิตร์มงคลสุข, สุพัตรา อังคเศกวินัย, อรอุษา จันทร์ประภาพ. เทคนิคการพิมพ์รากเทียมเพื่อลอกเลียนลักษณะของอิมเมอเจินซโพรไฟล์ โดยใช้ครอบฟันชั่วคราว. ว. ทันตกรรมประดิษฐ์ไทย 2548 ; 2(1) : 39-47.
12. สมศักดิ์ จิตร์มงคลสุข, สมชาย อุรพีพล, อโณทัย เกียรติดิลกรัฐ. ผลของการใช้สารไพรเมอร์ต่อแรงยึดระหว่างเรซินซีเมนต์ และทองบริสุทธิ์. ว.ทันต. มหิดง 2547 ; 24(3) : 147-54.
13. สมชาย อุรพีพล, พีระ สิทธิอำนวย. การทดสอบประสิทธิภาพของโลหะเจือพื้นฐานสำหรับงานครอบฟันโลหะเคลือบกระเบื้อง ตอนที่ 1 สมบัติทางกล. ว. ทันต. 2547 ; 54 (4) : 260-65.
14. วิชญ กาญจนะวสิต, วัชราภรณ์ คูผาสุก. ประสิทธิภาพของกลาสไอโอโนเมอร์เมื่อใช้เป็นฉนวนความร้อนในการบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิต. ว. ทันต 2547 ; 54 (6) : 338-48.
15. สมศักดิ์ จิตร์มงคลสุข, พีระ สิทธิอำนวย, สมชาย อุรพีพล, พร้อมพงษ์ หิรัญเจริญนนท์. ผลของการเป่าทรายต่อแรงยึดเฉือนระหว่างทองบริสุทธิ์-ซีเมนต์เรซิน-ผิวเนื้อฟัน. ว. ทันต มหิดล 2548 ; 25(1) : 11-18
16. สมศักดิ์ จิตร์มงคลสุข, รพีพรรณ นาคะสิริ, สมชาย อุรพีพล, พร้อมพงศ์ หิรัญเจริญนนท์. ผลของเทอร์โมไซคลิง การเป่าทรายและซีเมนต์เรซินต่อแรงยึดเฉือนระหว่างทองบริสุทธิ์-เรซิน-เนื้อฟัน. ว. ทันต มหิดล 2548 ; 25(1) : 29-38
17. Jirajariyavej B, Srithavaj T, Urapepon S, Kungvannarongkul B. Tensile strength of the elastomeric materials in Maxillofacial Prosthetics. Mahidol Den J 2005 ; 25(1) : 51-58
18. สมศักดิ์ จิตร์มงคลสุข, วิชญ กาญจนะวสิต, ฉันทนา ตุลาพรชัย. ผลของเทอร์โมไซคลิงต่อกำลังดัดขวางในแนวสองแกนของเซรามิกที่ยึดติดกับเนื้อฟัน. ว. ทันต มหิดล 2548 ; 26(1): (In press)
19. Kanchanavasita W. Investigations of thermal properties of dental luting agents. Mahidol Dent J 2005 ; 25(1): 39-50
รายการเพื่อฟันที่คุณรัก ตอน อะไรคือการทำครอบฟัน
ตอนที่ 1-2
รายการเพื่อฟันที่คุณรัก ตอน ฟันปลอมเถื่อน
ตอนที่ 1-2
รายการเพื่อฟันที่คุณรัก ตอน นานาปัญหาฟันเทียม
ตอนที่ 1-2
ภาพกิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์และภาพกิจกรรม (เก่า)
• โครงการรักษาฟันเทียมถอดได้ทั้งปากเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ฟรี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2563
• โครงการรักษาฟันเทียม ถอดได้ทั้งปาก โดยคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สนับสนุนค่าใช้จ่าย (หมดเขต)
• “ฟรี ฟันเทียมถอดได้ทั้งปาก เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี” (หมดเขต)
Research Publications
1. Srichumpong T, Angkulpipat S, Prasertwong S, Thongpun N, Teanchai C, Veronesi P, Suputtamongkol K, Leonelli C, Heness G, Chaysuwan D. Effect of the crystallisation time and metal oxide pigments on translucency and the mechanical and physical properties of mica glass-ceramics. Journal of Non-Crystalline Solids. 2020;528: Article number 119730.
Department: Prosthodontics / Research Office
Source: Scopus/ WOS SJR (2019): Q1
JCR (2019): Q1 Impact Factor (2019): 2.929
Department: Prosthodontics
Source: Scopus/ WOS SJR (2019): Q2
JCR (2019): Q3 Impact Factor (2019): 2.894
Department: Prosthodontics / Oral and Maxillofacial Surgery / Dental Hospital
Source: Scopus/ WOS SJR (2019): Q1
JCR (2019): Q2 Impact Factor (2019): 2.474
Department: Prosthodontics
Source: Scopus/ WOS SJR (2019): Q2
JCR (2019): Q3 Impact Factor (2019): 1.359
Department: Prosthodontics
Source: Scopus/ WOS SJR (2019): Q4
JCR (2019): Q4 Impact Factor (2019): 0.325
Department: Prosthodontics
Source: Scopus/ WOS SJR (2019): Q3
JCR (2019): – Impact Factor (2019): –
Department: Prosthodontics
Source: Scopus/ WOS SJR (2019): Q4
JCR (2019): – Impact Factor (2019): –
1.Srichumpong T, Phokhinchatchanan P, Thongpun N,Chaysuwan D, Suputtamongkol K. Fracture toughness of experimental mica-based glass-ceramics and four commercial glass-ceramics restorative dental materials. Dental Materials Journal. 2019;38:378-87.
Department: Prosthodontics
Source: Scopus/ WOS / PubMed SJR (2018): Q1
JCR (2018): Q3 Impact Factor (2018): 1.424
Department: Operative Dentistry and Endodontics / Prosthodontics
Source: Scopus/ WOS / PubMed SJR (2018): Q2
JCR (2018): Q3 Impact Factor (2018): 1.36
Department: Prosthodontics
Source: Scopus/ WOS SJR (2018): Q3
JCR (2018): Q3 Impact Factor (2018): 0.692
1.Jirajariyavej B, Wanapirom P, Anunmana C. Influence of implant abutment material and ceramic thickness on optical properties. J Prosthet Dent. 2018;119(5):819-25.
Department: Prosthodontics
Department: Oral Microbiology / Prosthodontics / Research Office
Source Scopus
1. Waqas TS, Shrestha B, Srithavaj T, Chotprasert N. A two-step functional impression technique for the fabrication of an implant-retained silicone auricular prosthesis. J Prosthet Dent 2017; 117: 444-47.
Department: Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Oral Microbiology / Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Prosthodontics
Source: Scopus / PubMed
Department: Orthodontics / Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Oral Microbiology / Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Oral Microbiology / Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
1.Nagaviroj N, Figl M, Seemann R, Dobsak T, Schicho KA. Assessment of artificial teeth setup device: A three-dimensional model analysis. Int J Prosthodont. 2016; 28(4):383-5.
Department: Prosthodontics
Department: Oral Microbiology / Prosthodontics
Department: Prosthodontics
Department: Prosthodontics
Department: Oral Microbiology / Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department of Prosthodontic
Tel. 02-200-7817-18 or 7817-18
Ext. 02-200-7816