MU DENT faculty of dentistry
ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน



ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน ได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2511 ซึ่งเป็นหนึ่งใน 12 ภาควิชา ซึ่งได้รับการจัดตั้ง โดยมีภารกิจเน้นถึงการ เรียนการสอน การบริการเพื่อการศึกษา การวิจัยและการบริการเพื่อสังคม ซึ่งเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 เมื่อคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลได้ย้ายที่ทำการมายังเขตพญาไท ในช่วงแรกได้จัดเป็นคลินิกรวม ดำเนินการที่อาคาร 2 ชั้น 2 ในวันที่ 30 ตุลาคม 2515 คลินิกทันตกรรมจัดฟันได้แยกออกจากคลินิกรวมมาจัดตั้งขึ้นที่ อาคาร 1 ชั้น 2 ห้อง 201 และจัดตั้งห้องปฏิบัติการขึ้นในชั้นเดียวกันที่ห้อง 207 และมีเก้าอี้ทำฟันใช้ในการบริการเพื่อการเรียนการสอน และบริการผู้ป่วยเพียง 6 ยูนิต ปัจจุบันภาควิชารับผิดชอบการเรียน การสอน การบริการ ผู้ป่วยทางทันตกรรมจัดฟันและการวิจัย โดยรับผิดชอบการเรียนการสอนวิชาทางทันตกรรมจัดฟันแก่นักศึกษาหลักสูตรทันตแพทยศาสตร์ บัณฑิตหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีทันตกรรม หลักสูตรช่างทันตกรรม หลักสูตรพนักงานผู้ช่วยทันตแพทย์ หลักสูตรผู้ช่วย ทันตแพทย์ นอกจากนี้ยังมีหลักสูตรหลังปริญญาที่ภาควิชารับผิดชอบในการเรียนการสอน ได้แก่ หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง และหลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง สาขาทันตกรรมจัดฟัน
ปรัชญา
ปณิธาน
วิสัยทัศน์
Goals
1. To provide a world-class, high quality and modern education.
2. To support Oral Microbiology and Immunology research and other related research that has a beneficial influence on academic performance and publish research in international journal at least one topic per person within every two – three years
3. To serve the appropriate diagnosis of microorganisms that cause oral diseases
Objectives
1. To produce dental student and staff with quality, integrity, morality and ethic.
2. To create the international research which benefit to life quality development in Thai society
3. To provide education and dental care which emphasize service quality and patient satisfaction.
4. To create and develop orthodontics and public health dentistry in order to be a center for education
5. To continuously sustain and maintain Thai culture
6. To reform the management system to be effective, transparent, fair and accountable
7. To develop information system in effective and modern academic work, research, public service and management system
Missions
1. To educate dental student and staff to meet international standard with creative thinking, knowledge enhancement, integrity, morality and ethic
2. To support the international research in order to create new knowledge, built academic connection in innovation and application
3. To develop and serve quality education related to common needs in order to promote good oral health
4. To encourage Thai traditional and custom to be a way of life
5. To build effective, transparent, fair and accountable management along with good information system
Location
The 50th Anniversary of HRH Princess Mahachakri Sirindhorn Building, 14th Floor
หลักสูตรที่ภาควิชาเปิดสอน
หลักสูตร
ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน มีการเรียนการสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี 6 ปี และหลักสูตรระดับหลังปริญญาทางทันตกรรมจัดฟัน 5 หลักสูตร ได้แก่
– หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชา ทันตกรรมจัดฟัน (หลักสูตรนานาชาติ)
– หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ)
– หลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้าน สาขาทันตกรรมจัดฟัน
– หลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้าน สาขาทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ)
– หลักสูตรฝึกอบรมผู้ชำนาญเฉพาะทางด้านคลินิก อนุสาขาทันตกรรมจัดฟันร่วมกับการผ่าตัดขากรรไกร
ระดับปริญญาตรี
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต มีความสามารถดังต่อไปนี้
1. มีความรู้พื้นฐานทางด้านการเจริญเติบโตของกะโหลกศีรษะ ใบหน้าและขากรรไกร ลักษณะการสบฟันที่ปกติและผิดปกติชนิดต่างๆ ตลอดจนสาเหตุของการสบฟันที่ผิดปกติ
2. มีความรู้ด้านกลไกการเคลื่อนฟัน เครื่องมือจัดฟันชนิดต่างๆ เช่น เครื่องมือจัดฟันชนิดถอดได้และชนิดติดแน่นและหลักการรักษา ทางทันตกรรมจัดฟันเบื้องต้น
3. มีความรู้พื้นฐานเรื่องการวิเคราะห์ วินิจฉัย และวางแผนการรักษาผู้ป่วยที่มีการสบฟันผิดปกติ
4. สามารถจำแนกผู้ป่วยและส่งต่อให้ทันตแพทย์จัดฟันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ป่วย
เนื่องจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีการเรียนการสอนและผสมผสาน ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน จะรับผิดชอบรายวิชาที่เกี่ยวข้องทางสาขาทันตกรรมจัดฟัน ได้แก่
หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต | หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต(นานาชาติ) |
DTOD 321 Fundamental of Orthodontics | DTIS 321 Fundamental of Orthodontics |
DTOD 332 Diagnosis and Treatment Planning in Orthodontics | DTIS 332 Diagnosis and Treatment Planning in Orthodontics |
DTOD 411 Orthodontic Treatment | DTIS 411 Orthodontic Treatment |
DTOD 412 Orthodontic Laboratory | DTIS 412 Orthodontic Laboratory |
DTOD 551 Comprehensive Dental Practice: Orthodontics I | DTIS 551 Comprehensive Dental Practice: Orthodontics I |
DTOD 669 Seminar in Early Orthodontic Treatment | DTIS 669 Seminar in Early Orthodontic Treatment |
และรายวิชาที่เป็นโครงการสอนร่วม (Interdisciplinary) คือ หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต DTID 321 CRANIOFACIAL GROWTH AND DEVELOPMENT และ หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต(นานาชาติ) DTIS 321 CRANIOFACIAL GROWTH AND DEVELOPMENT สำหรับด้านจริยศาสตร์ และจรรยาบรรณ ในวิชาชีพ ภาควิชาฯ ได้สอดแทรกให้กับนักศึกษาในระหว่าง การเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ เช่น การปฏิบัติงานของนักศึกษาในคลินิกทันตกรรมจัดฟัน โดยดูพฤติกรรมที่สังเกตเห็นในด้านต่างๆ เช่น ความรับผิดชอบ มนุษยสัมพันธ์ ความสนใจในการศึกษาใฝ่หาความรู้เพิ่มเติม และการแก้ปัญหา ซึ่งมีการจัดแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่มๆ และ มีอาจารย์ ที่ปรึกษาประจำกลุ่มตลอดปีการศึกษา
รายละเอียดด้านการศึกษาระดับปริญญาตรีที่เกี่ยวข้องกับภาควิชาฯ
ติดต่อ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทันตแพทย์หญิง นันทินี นันทวณิชย์ แสงไฟ
ระดับหลังปริญญา
มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. ผลิตนักวิชาการระดับสูง และขยายการผลิตบุคลากรใน สาขาทันตกรรมจัดฟันที่ยังขาดแคลน
2. ยกระดับคุณวุฒิ และประสิทธิภาพในการสอนของอาจารย์
3. เพื่อสร้างบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการแก้ไขปัญหาทาง ทันตกรรมจัดฟัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านทันตกรรมจัดฟัน ป้องกันของประชาชน
4. เพื่อผลิตบุคลากรให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการให้คำปรึกษา ที่ถูกต้องและสามารถให้การรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน
ภาควิชาฯมีการเรียนสอนระดับหลังปริญญา 5 หลักสูตร ดังนี้
– หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชา ทันตกรรมจัดฟัน (หลักสูตรนานาชาติ)
– หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ)
– หลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้าน สาขาทันตกรรมจัดฟัน
– หลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้าน สาขาทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ)
– หลักสูตรฝึกอบรมผู้ชำนาญเฉพาะทางด้านคลินิก อนุสาขาทันตกรรมจัดฟันร่วมกับการผ่าตัดขากรรไกร
1. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชา ทันตกรรมจัดฟัน (หลักสูตรนานาชาติ)
มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ระยะเวลาในการศึกษา 2 ปี และไม่เกิน 3 ปี มีหน่วยกิตรวม 30 หน่วยกิต
รายละเอียดด้านการศึกษาระดับหลังปริญญาสาขาทันตกรรมจัดฟัน
ประธานหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชา ทันตกรรมจัดฟัน (หลักสูตรนานาชาติ)
ติดต่อ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง รชยา จินตวลากร
2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ)
มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ระยะเวลาในการศึกษา 3 ปี และไม่เกิน 5 ปี มีหน่วยกิตรวม 40 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ 1 เรื่อง โดยไม่นับหน่วยกิตแต่เทียบเท่า 12 หน่วยกิต
รายละเอียดด้านการศึกษาระดับหลังปริญญาสาขาทันตกรรมจัดฟัน
ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ)
ติดต่อ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์ พีรพงศ์ สันติวงศ์
3. หลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้าน สาขาทันตกรรมจัดฟัน
มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ระยะเวลาการศึกษา 3 ปี และไม่เกิน 5 ปี จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 111 หน่วยกิต
รายละเอียดด้านการศึกษาระดับหลังปริญญาสาขาทันตกรรมจัดฟัน
ผู้อำนวยการหลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้านสาขาทันตกรรมจัดฟัน
ติดต่อ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง รชยา จินตวลากร
4. หลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้าน สาขาทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ)
มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ระยะเวลาการศึกษา 3 ปี และไม่เกิน 5 ปี จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 111 หน่วยกิต
รายละเอียดด้านการศึกษาระดับหลังปริญญาสาขาทันตกรรมจัดฟันติดต่อได้ที่
ผู้อำนวยการหลักสูตรฝึกอบรมทันตแพทย์ประจำบ้าน สาขาทันตกรรมจัดฟัน (นานาชาติ)
ติดต่อ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์ พีรพงศ์ สันติวงศ์
5. หลักสูตรฝึกอบรมผู้ชำนาญเฉพาะทางด้านคลินิก อนุสาขาทันตกรรมจัดฟันร่วมกับการผ่าตัดขากรรไกร
มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ระยะเวลาการศึกษา 2 ปี และไม่เกิน 4 ปี จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 18 หน่วยกิต
รายละเอียดด้านการศึกษาระดับหลังปริญญาสาขาทันตกรรมจัดฟันติดต่อได้ที่
ประธานหลักสูตรฝึกอบรมผู้ชำนาญเฉพาะทางด้านคลินิก
อนุสาขาทันตกรรมจัดฟันร่วมกับการผ่าตัดขากรรไกร
ติดต่อ: รองศาสตราจารย์ ทันตแพทย์ ศุภกิจ เพียรจิตเลิศขจร
นอกจากนี้ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน ได้ร่วมกับภาควิชาอื่นๆ จัดการเรียนการสอนแก่นักเรียนช่างทันตกรรม ซึ่งเป็นหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาช่างทันตกรรม ระยะเวลาการศึกษา 2 ปี และไม่เกิน 4 ปี มีจำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร คือ 77 หน่วยกิต ซึ่งการจัดการเรียนการสอนประกอบด้วย ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติทางทันตกรรมจัดฟัน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตช่างทันตกรรมที่มีความรู้ความสามารถ ที่จะทำงานช่าง สาขาทันตกรรมจัดฟันได้อย่างถูกต้อง เป็นบุคลากรที่สามารถให้ความช่วยเหลือในด้านการเตรียมการเรียนการสอนและการ สาธิต การปฏิบัติงานช่างทันตกรรม (Dental Technology) สาขาทันตกรรมจัดฟันแก่ทันตบุคลากรทุกประเภท ตลอดจนสามารถปฏิบัติงานบริการทันตสาธารณสุขป้องกันและบำบัดโรคฟันแก่ประชาชน ร่วมกับทันตแพทย์และผู้ช่วยทันตแพทย์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อช่วยกิจการด้านวิชาการเป็นการแบ่งเบาภาระของอาจารย์ทันตแพทย์ในด้าน การสอน วิจัย และค้นคว้า และสามารถประดิษฐ์อุปกรณ์ทางทันตกรรมจัดฟัน ตลอดจนใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ได้รับการฝึกฝนได้โดยถูกต้อง
ภาควิชาทันตกรรมจัดฟันยังได้ร่วมจัดการเรียนการสอนแก่นักเรียนผู้ช่วยทันตแพทย์ ซึ่งเป็นหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชา ผู้ช่วยทันตแพทย์ ระยะเวลาการศึกษา 2 ปี โดยการจัดการเรียนการสอนประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ มีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตผู้ช่วยทันตแพทย์ให้สามารถช่วยเหลือทันตแพทย์ข้างเก้าอี้ในงานด้านทันตกรรมจัดฟันได้อย่างถูกต้อง สามารถให้ ความช่วยเหลือ ในด้านการเตรียมการเรียนการสอน และการสาธิตการปฏิบัติงานช่วยเหลือทันตแพทย์ ในการให้การบริการ ผู้ป่วยสาขาทันตกรรม จัดฟันแก่ทันตบุคลากรทุกประเภท สามารถปฏิบัติงานบริการทันตสาธารณสุขป้องกันและบำบัดโรคฟันแก่ประชาชนร่วมกับทันตแพทย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถทำหน้าที่ช่วยกิจการด้านวิชาการ เป็นการแบ่งเบาภาระ ของอาจารย์ทันตแพทย์ ในด้านการสอน วิจัย และค้นคว้าตลอดจนใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ได้รับการฝึกฝนได้อย่างถูกต้อง
งานวิจัยของภาควิชา
ผลงานวิจัย
ภาควิชาทันตกรรมจัดฟันมีนโยบายส่งเสริมการวิจัยมาโดยตลอดไม่ว่าจะเป็นการวิจัยในห้องทดลอง การวิจัยด้านวัสดุสาขาทันตกรรมจัดฟัน หรือประยุกต์ทางคลินิก โดยร่วมในการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในรายวิชา DTID 321 และ DTID 412 สนับสนุนงานวิจัยของนักศึกษาในระดับหลังปริญญา ตลอดจนคณาจารย์ในภาคฯให้มีการทำวิจัยและตีพิมพ์ในระดับประเทศ และนานาชาติ ซึ่งมีทั้งงานวิจัยร่วมระหว่างสาขาระหว่างภาคฯ หรือระหว่างสถาบัน เป็นต้น
Postgraduate thesis
ผลงานด้านวิชาการหรือผลงานด้านวิชาการที่ลงตีพิมพ์เผยแพร่- ความเอียงชันของเส้น Nasion-Sella (SN-plane)
– The mandibular body length in Class I,II and III skeletal pattern.
– บทคัดย่อ เรื่อง “Orientation of SN. Plane ใน Mahidol University Annual Research Abstracts 1982
– ไพศาล ชัยวัฒน์, ดำรงค์ ทองน้อย : การเลื่อนฟันหน้าโดยใช้แอคทิฟเพลทชนิดถอดได้ ว.ทันต.ม. 5 : 9-19, 2528
– ไพศาล ชัยวัฒน์,ดำรงค์ทองน้อย : การแก้ไขขากรรไกรล่างยื่นโดยวิธีทางทันตกรรมจัดฟันร่วมกับการผ่าตัด ว.ทันต.ม.6 : 19-32,2529
– ไพศาล ชัยวัฒน์, ปิยะนาถ ปริยกนก, นิสา เจียรพงศ์, ดำรงค์ ทองน้อย : การเลาะเส้นใยเหงือกรอบๆ ฟันเพื่อป้องกันการหมุนกลับตำแหน่งเศษของฟัน ว.ทันต.ม.6 : ตต-40,2529
– ไพศาล ชัยวัฒน์, ดำรงค์ ทองน้อย, อิงบุญ เทียนศิริ, สมเกียรติ อรุณากูล : การรักษาฟันตัดบนที่ฝังอยู่ในกระดูกขากรรไกร ว.ทันต.ม.7 : 109-117,2530
– ไพศาล ชัยวัฒน์, อิศราวดี วิเศษศิริ : การรักษาการสบฟันผิดปกติชนิดคอมพลีทบัคคัลครอสส์ไบท์ : ว.ทันต.ม.12 : 181-189, 2535
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์, พรรัชนี แสวงกิจ, ไพศาล ชัยวัฒน์ และสุรชัย เดชคุณากร : กำลังขยายของภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะแนวข้างและแนวหลังหน้าในเครื่องถ่ายภาพรังสีแบบต่างๆ : ว.ทันต. ปีที่ 42 ฉบับ 5-6,244-255 พ.ศ. 2535
– สมพร เรืองผกา,อิศราวดี วิเศษศิริ, ไพศาล ชัยวัฒน์ และวรรณา สุชาโต : ความชุกของฟันล่างครอบฟันบนกับผลการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน ว.ทันต. ปีที่ 42 ฉบับที่ 3,109-121 พ.ศ. 2535
– กิตติ สุพันธุ์วณิช, สินีพรรณ เกียรติพงษ์สาร, จิราภรณ์ ชัยวัฒน์, สุรชัย เดขคุณากร และไพศาล ชัยวัฒน์ : สมการทำนายขนาดฟันเขี้ยวและฟันกรามน้อย จากขนาดฟันหน้าตัดล่างในคนไทย ว.ทันต. ที่ 45 ฉบับที่ 2, 58-62 พ.ศ. 2538
– 1 สุรชัย เดชคุณากร และพรรัชนี แสวงกิจ : ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของอดีนอยดอล-นาโซฟารินเจียล และแบบโครงสร้างกระดูกใบหน้า .ว.ทันต.มหิดล 8,11-14, 2531
– สุรชัย เดชคุณากร และพรรัชนี แสวงกิจ : การประเมินช่องว่างทางเดินอากาศนาโซฟารินเจียล ว.ทันต. 39, 43-50, 2532.
– สุรชัย เดชคุณากร และพรรัชนี แสวงกิจ : การหาตำแหน่งจุด A และจุด B ในภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง. ว.ทันต.มหิดล 9 ; 125-132, 2532.
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และพรรัชนี แสวงกิจ : ความแม่นยำในการใช้ตารางความเป็นไปได้ของโมเยอร์ในกลุ่มคนไทย. ว.ทันต. 40; 94-99, 2533.
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และพรรัชนี แสวงกิจ : ฟันหายแต่กำเนิดและการสูญเสียฟันในผู้ป่วยจัดฟันกลุ่มหนึ่ง. ว.ทันต. 40 ; 165-176, 2533.
– สุรชัย เดชคุณากร และจิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และพรรัชนี แสวงกิจ : อุบัติการของฟันเกินในภาพถ่ายรังสีพานอรามิก. ว.ทันต. 42 ; 8-13, 2535.
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และพรรัชนี แสวงกิจ และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : การสบฟันผิดปกติในคนตาบอดและคนหูหนวกกลุ่มหนึ่ง. ว.ทันต. 41 ; 296-311, 2534.
– พรรัชนี แสวงกิจ สุรชัย เดชคุณากร นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพรคณา สนธิลาวัฒน์ : ความสัมพันธ์ของฐานกระดูกขากรรไกรทางแนวหน้า-หลังในคนไทยลักษณะใบหน้าปกติ. ว.ทันต. 42 ; 62-68, 2535.
– สุรชัย เดชคุณากร พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพรคณา สนธิลาวัฒน์ : ความสอดคล้องของตัวชี้ความสัมพันธ์ของโครงสร้างกระดูดขากรรไกรในแนวหน้าหลัง ว.ทันต. 42 ; 53-61, 2535.
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์, พรรัชนี แสวงกิจ, ไพศาล ชัยวัฒน์ และสุรชัย เดชคุณากร : กำลังขยายของภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะแนวข้าง และแนวหน้าหลัง ในเครื่องถ่ายภาพรังสีแบบต่างๆ. ว.ทันต. 42 ; 244-255, 2535.
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ , พรรัชนี แสวงกิจ และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : ความสูง ใบหน้าและกระดูกเบ้าฟันในผู้ใหญ่ที่มีการสบฟันปกติ. ว.ทันต. 44 ; 142-149, 2537.
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และนฤมล ทวีเศรษฐ์ : ค่าปกติของ ผู้ใหญ่ไทยในการวิเคราะห์แบบต่างๆ จากภาพถ่ายรังสีกระโหลกศีรษะด้านข้าง. ว.ทันต. 44 ; 202-214, 2537.
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ พรรัชนี แสวงกิจ จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และ สุรชัย เดชคุณากร : การ วิเคราะห์เนื้อที่ในระยะฟันชุดผสม. ว.ทันต. 45 ; 288-295, 2538.
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 1 ขนาดของฟันและอัตราส่วนร้อยละของฟันล่างต่อฟันบน. ว.ทันต. 45 ; 159-167, 2538.
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และสินีพรรณ เกียรติพงษ์สาร : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 2 : ขนาดแนวความโค้งของฟัน ว.ทันต. 45 ; 222-229, 2538.
– National Institute of dental and craniofacial research efficacy trials of bionator Class II treatment : A review- Angle Orthodontists, Vol. 72 No.6, 2002.
– สมพร เรืองผกา และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : การถอนฟันตัดล่างในการจัดฟัน ว.ทันต. ปีที่ 39 (1) : 18-26 พ.ศ.2532
– พาสน์ศิริ นิสาลักษณ์, วรลักษณ์ ปรัชญพฤทธิ์ และวินัย ลีลาพฤทธิ์ : การทำให้คีมที่ใช้ทางทันตกรรมจัดฟันปราศจากเชื้อโดยการใช้เครื่องกลาสบีด (รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก มูลนิธิคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และทุนศาสตราจารย์ทันตแพทย์อิศระ ยุกตะนันท์ ประจำปี 2532) ว.ทันต. 40(4) : 177-184, 2533
– พาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ และสมพร เรืองผกา : การจัดการรักษาฟันซึ่งขึ้นเองไม่ได้ ว.ทันต.41(2) : 51-59, 2534
– อิศราวดี วิเศษศิริ, สมพร เรืองผกา และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : ผลของแรงภายนอกปาก ต่อการรักษาผู้ป่วยที่มีการสบฟันผิดปกติประเภทที่ 2 ว.ทันต. มหิดล 12(2) : 126-133,2535
– สุรชัย เดชคุณากร, จิราภรณ์ ชัยวัฒน์,พรรัชนี แสวงกิจ,นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 1 ขนาดของฟันและอัตราส่วนร้อยละของฟันล่างต่อฟันบน.
ว.ทันต. 45(4) ; 159-167, 2538
– พาสน์ศิริ นิสาลักษณ์, อิศราวดี วิเศษศิริ และอรพินท์ เติมวิชชากร : ศึกษาผลของรีไซคลิงไดเรกบอนด์แบรกเก็ตกับผิว เคลือบฟัน โดยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด ว.ทันต.มหิดล 17(1) : 1-8, 2540
– อิศราวดี วิเศษศิริ และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : เทคนิคการซ้อนรอยภาพวาดเซฟฟาโลเมตรี ว.ทันต.มหิดล 17(2) : 149-156, 2540
– Santiwong, P., Muramoto, T., Soma, K. and Takano, Y. GAP-43 immunohistochemical and ultrastructural changes in jaw muscle spindles of the rat after loss of occlusion. Archives of Oral Biology, Vol. 47(3):227-37, 2001.
– Santiwong, P., Muramoto, T., Soma, K. and Takano, Y. Loss of occlusion affects jaw muscle spindles of the rat. Journal of Dental Research, Vol. 80: 774, 2000.
– Santiwong, P., Takano, Y. and Soma, K. Expression of growth-associated protein-43 (GAP-43) in the nerve endings of muscle spindles following loss of occlusion in rat masticatory muscles. Acta Anatomica Nipponica, Vol. 75(1): 128, 1999.- อิศราวดี วิเศษศิริ : การวิเคราะห์แบบพิมพ์ฟัน บทที่ 4 หน้า 36-45 หนังสือ “ฟันล่างครอบฟันบนในเด็กระยะฟันชุดผสม” พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.2532 ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
– อิศราวดี วิเศษศิริ พิตรพร อธิสุข และสมพร เรืองผกา : ความสัมพันธ์ระหว่างแรงภายนอกช่องปากต่อการรักษาผู้ป่วยที่มีการสบฟันผิดปกติ ประเภทที่ 2 ว.ทันต. มหิดล 12 : 126-133, 2535 (รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดล ประเภท ก. ประจำปี 2533) (ระยะเวลา 2 ปี)
– สมพร เรืองผกา อิศราวดี วิเศษศิริ ไพศาล ชัยวัฒน์ และวรรณา สุชาโต : ความชุกของฟันล่างครอบฟันบนกับผลการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน
– สมพร เรืองผกา เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ และอิศราวดี วิเศษศิริ : เปรียบเทียบความสัมพันธ์ของการสบฟันกับโครงสร้างขากรรไกรแนวหน้าหลังในกลุ่มเด็กฟันชุดผสม ว.ทันต.มหิดล 9 : 64-69, 2532
– อิศราวดี วิเศษศิริ สมพร เรืองผกา และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : ผลของแรงภายนอกช่องปากต่อการรักษาผู้ป่วยที่มีการสบฟันผิดปกติ ประเภทที่ 2 ว.ทันต. มหิดล 12 : 126-133, 2535 (รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดลประเภท ก. ประจำปี 2533) (ระยะเวลา 2 ปี)
– อิศราวดี วิเศษศิริ พิตรพร อธิสุข และสมพร เรืองผกา : ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกัดกับโครงสร้างกะโหลกศีรษะและใบหน้า ว.ทันต.มหิดล 13 : 159-169, 2536 (ระยะเวลา 2 ปี)
– สมพร เรืองผกา อิศราวดี วิเศษศิริ ไพศาล ชัยวัฒน์ และวรรณา สุขาโต : ความชุกของฟันล่างครอบฟันบนกับผลการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน ว.ทันต 42 : 109-121, 2525 (รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดล ประเภท ก. ประจำปี 2534) (ระยะเวลา 1 ปี)
– สมพร เรืองผกา อิศราวดี วิเศษศิริ และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : เมื่อลูกของท่านจัดฟันวันแรก การเผยแพร่ความรู้เพื่อประชาชน (แผ่นพับ) พ.ศ.2533
– อิศราวดี วิเศษศิริ : เทปโทรทัศน์ ใช้ประกอบการเรียนของนักศึกษาทันตแพทย์ปีที่ 2 เรื่อง การตัดแต่งแบบจำลองฟันใช้เวลา 30 นาที
– ไพศาล ชัยวัฒน์ และอิศราวดี วิเศษศิริ : การรักษาการสบฟันผิดปกติชนิดชนิดคอมพลีทบัคคัล ครอสส์ไบท์ : รายงานผู้ป่วยหนึ่งราย ว.ทันต.มหิดล. 12 : 181-189, 2525
– กิตติ สุพันธุ์วณิช สุภา โรจน์วุฒนนท์ และอิศราวดี วิเศษศิริ : ขากรรไกรล่างยื่นเอียงและการแกไขรักษา : รายงานผู้ป่วยหนึ่งราย ว.ทันต.มหิดล 13 : 126-136, 2536 (ระยะเวลา 3 ปี)
– สมเกียรติ ดุจหนึ่งคุณากร, อิศราวดี วิเศษศิริ, เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ, วุฒธิพันธุ์ ปรัชญาพฤทธิ์ : การประดิษฐ์เครื่องวัดแรงกัดแบบเลข ว.ทันต. มหิดล ปีที่ 19 หน้า 17-32, 2542
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และพรรัชนี แสวงกิจ และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : การสบฟันผิดปกติในคนตาบอดและคนหูหนวกกลุ่มหนึ่ง ว.ทันต., 41, 296-311, 2534
– พรรัชนี แสวงกิจ สุรชัย เดชคุณากร นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพรคณา สนธิลาวัฒน์ : ความสัมพันธ์ของฐานกระดูกขากรรไกรทางแนวหน้า-หลังในคนไทยลักษณะใบหน้าปกติ ว.ทันต., 42, 62-68, 2535
– สุรชัย เดชคุณากร พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพรคณา สนธิลาวัฒน์ : ความสอดคล้องของตัวชี้ความสัมพันธ์ของโครงสร้างกระดูกขากรรไกรในแนวหน้าหลัง ว.ทันต., 42, 53-61, 2535
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์, พรรัชนี แสวงกิจ, ไพศาล ชัยวัฒน์ และสุรชัย เดชคุณากร : กำลังขยายของภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะแนวข้าง และแนวหน้าหลัง ในเครื่องถ่ายภาพรังสีแบบต่างๆ ว.ทันต., 42, 244-255, 2535
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และสุรชัย เดชคุณากร : ฟันหน้าสบเปิดในเด็ก ว.ทันต., 43, 287-301, 2536 – อนงค์พร ศิริกุลเสถียร สุรชัย เดชคุณากร และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างของเหงือกยึดกับความยาวและความสูงของกระดูกเบ้าฟันที่บริเวณกึ่งกลางด้านหน้า ว.ทันต., มหิดล, 13, 185-189, 2536
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : ความสูงใบหน้าและกระดูกเบ้าฟัน ในผู้ใหญ่ที่มีการสบฟันปกติ ว.ทันต., 44, 142-149, 2537
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และนฤมล ทวีเศรษฐ์ : ค่าปกติของผู้ใหญ่ไทยในการวิเคราะห์แบบต่างๆ จากภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง ว.ทันต., 44, 202-214, 2537
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ พรรัชนี แสวงกิจ จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และ สุรชัย เดชคุณากร : การวิเคราะห์เนื้อที่ในระยะฟันชุดผสม ว.ทันต., 45, 288-295, 2538
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 1: ขนาดของฟันและอัตราส่วนร้อยละของฟันล่างต่อฟันบน ว.ทันต., 45, 159-167, 2538
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และสินีพรรณ เกียรติพงษ์สาร : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 2 : ขนาดแนวความโค้งของฟัน ว.ทันต., 45, 222-229, 2538
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และอิศราวดี วิเศษศิริ : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 3 : อัตราส่วนร้อยละและสัดส่วนต่อเนื่องภายในและระหว่างแนวความโค้งของฟัน ว. ทันต., 45, 230-238, 2538
– กิตติ สุพันธุ์วณิช สุรชัย เดชคุณากร และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : แบบลายนิ้วมือของผู้ป่วยปากแหว่งและเพดานโหว่ กลุ่มหนึ่ง ว.ทันต., มหิดล, 16, 193-199, 2539
– กิตติ สุพันธุ์วณิช สินีพรรณ เกียรติพงษ์สาร นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และสุรชัย เดชคุณากร : การทำนายขนาดความกว้างของฟันเขี้ยวและฟันกรามน้อยในฟันคนไทยกลุ่มหนึ่ง : การเปรียบเทียบของ 2 วิธี ว.ทันต.มหิดล 18 ; 69-74, 2541
– นุชนาฎ สุนทรจารุ สุรชัย เดชคุณากร และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : โครงสร้างกะโหลกศีรษะและใบหน้าชนิดที่ 2 แบบไฮโปไดเวอร์เจนท์ นอร์โมไดเวอร์เจนท์และไฮเปอร์ได เวอร์เจนท์ ในกลุ่มอายุต่างๆ : การศึกษาจากภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง ; ตอนที่ 1 ลักษณะโครงสร้าง ว.ทันต.มหิดล 20; 1-20, 2543
– นุชนาฏ สุนทรจารุ สุรชัย เดชคุณากร และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : โครงสร้างกะโครงสร้างนอร์โมโดเวอร์เจนท์ และไฮเปอร์ไดเวอร์เจนในกลุ่มอายุต่างๆ : การศึกษาจากภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง; ตอนที่ 2 ความแตกต่างระหว่างเพศ การเปลี่ยนแปลงตามอายุและตำแหน่งของโครงสร้างในแนวหน้าหลัง ว.ทันต.มหิดล 20; 71-88, 2543
– วิกันดา วรรธนัจฉริยา, นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : ดิสแทรกชันออสติโอเจนเนซิสในบริเวณกระดูกขากรรไกรและใบหน้า ว.ทันต. 51; 196-208, 2544
– Krailassiri, S., Anuwongnukroh, N., and Dechkunakorn, S. : Relationships Between Dental Calcification Stages and Skeletal Maturity Indicators in Thai Individuals. Angle Orthodontist Journal Vol. 72, No.2, P. 155-166,2002
– จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ สุรชัย เดชคุณากร : การวิเคราะห์ตำแหน่งและมุมของกระดูกคางในภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง ว.ทันต. ม.11, 93-99, 2534,
– จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ สุรชัย เดชคุณากร : การพิจารณาเลื่อนตำแหน่งและมุมของกระดูกคางในทางทันตกรรมจัดฟัน : รายงานผู้ป่วย ว.ทันต. ม.12, 118-125, 2535
– จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ สุรชัย เดชคุณากร : เครื่องมือกัดกระโดดพร้อมกันชนริมฝีปากล่าง ว.ทันต. 41(2) 66-77, 2534
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ พาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 1 : ขนาดของฟันและอัตราส่วนร้อยละของฟันล่างต่อฟันบน ว.ทันต. 45(4) 159-167 2538
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ สินีพรรณ เกียรติพงษ์สาร : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 2 : ขนาดแนวความโค้งของฟัน ว.ทันต. 45(5-6) 222-229, 2538.
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ อิศราวดี วิเศษศิริ : แนวความโค้ง ของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 3 : อัตราส่วนร้อยละ และสัดส่วนต่อเนื่องภายในและระหว่างแนวความโค้งของฟัน ว.ทันต. 45(5-6) 230-238 2538
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ : อุบัติการณ์ของฟันเกินในภาพถ่ายรังสีพานอรามิก ว.ทันต. 42(1) 8-13 2535
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : การสบฟันผิดปกติในคนตาบอดและคนหูหนวกกลุ่มหนึ่ง ว.ทันต. 41(6) 296-311, 2534
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ : ฟันหายแต่กำเนิดและการสูญเสียฟันในผู้ป่วยจัดฟันกลุ่มหนึ่ง ว.ทันต. 40(4) 165-176, 2533
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ : ความแม่นยำในการใช้ตารางความเป็นไปได้ของโมเยอร์ในกลุ่มคนไทย ว.ทันต. 40(3) 94-99, 2533
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชน ี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ นฤมล ทวีเศรษฐ์ : ค่าปกติของผู้ใหญ่ไทยในการวิเคราะห์แบบต่างๆ จากภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง ว.ทันต. 44(5-6) 202-214, 2537
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ พรรัชนี แสวงกิจ จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ สุรชัย เดชคุณากร ไพศาล ชัยวัฒน์ : การวิเคราะห์เนื้อที่ในระยะฟันชุดผสม ว.ทันต. 45(5-6) 288-295, 2538
– กิตติ สุพันธุ์วณิช สินีพรรณ เกียรติพงษ์สาร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ สุรชัย เดชคุณากร : สมการทำนายขนาดฟันเขี้ยวและฟันกรามน้อยจากขนาดฟันหน้าตัดล่างในคนไทย ว.ทันต. 45(2) 58-62, 2538
– สุภา โรจนวุฒนนท์, จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ : การเปลี่ยนแปลงแนวแกนข้อต่อคอนดายล์หลังผ่าตัด ว.ทันต. 43(5) 252-259, 2536
– สุภา โรจนวุฒนนท์, จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ : การจัดฟันและผ่าตัดเพื่อแก้ไขปัญหาข้อต่อขากรรไกร ว.ศัลย์ช่องปาก-แม็กซิลโลเฟเชียล 7 73-85,2536
– จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ : การสบฟันที่ถูกต้องในทางทันตกรรมจัดฟัน ว.ทันต.ม.3 28-42, 2525
– วรรณา สุชาโต จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ : การประเมินค่าปกติกะโหลกศีรษะและใบหน้าที่สัมพันธ์กับฟันในคนไทย ว.ทันต.ม.34(5) 233-243, 2527
– วรรณา สุชาโต จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ : การสบฟันผิดปกติในนักศึกษา ว.ทันต.ม.2 133-143, 2524
– Surachai Dechkunakorn, Jiraporn Chaiwat, Pornrachanee Sawaengkit and Niwat Anuwongnukorh : Facial heights and dentoalveolar heights in Thai adults with normal occlusion : J Dent Assoc. Thai. 44(4) : 142-148, 1994.
– Wikanda Wattanatchariya, Jiraporn Chaiwat, Pornrachanee Sawaengkit and Chainut Chongruk : Anterior guidance and condylar guidance in normal occlusion and skeletal type I, II and III : J. Dent Assoc. Thai. 49(4) : 211-219, 1999.
– Kanika Jiraviwatana, Pornrachanee Sawaengkit and Jiraporn Chaiwat : Dentoalveolar heights and facial heights in skeletal open bite, deep bite and normal vertical bite : Mahidol Dent. J. 18(1-3) : 43-54, 1998.
– Jiraporn Chaiwat, Passiri Nisalak, Surachai Chaiwat and Theeralaksna Suddhasthira : Alteration of the occlusal plane anagulation in the treatment of skeletal type III dentofacial deformity patients : J. Tha. A. O. 1 (1) : 1-7, 2002.
– Wanna Suchato : SNA, SNB in various types of mal-occlusion, M.U. Annual Research Abstract: 1976
– Wanna Suchato and Yaowarak Laosauntorn : The relation of convexity and interincisal anagles in adult, M.U. Annual Research Abstract : 1977
– W. Suchato and P. Chaiwat : The orientation to S.N. plane to F.H. plane, M.U. Annual Research Abstracts : 1982
– วรรณา สุชาโตและจิราภรณ์ ชัยวัฒน์ : การสบฟันผิดปกติในนักศึกษา, ว.ทันต.ม.2 : 133-143,2525
– วรรณา สุชาโต : เครื่องมือ เครื่องใช้และวัสดุทางทันตกรรมจัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2526,2531, 2544
– W. Suchato and J. Chaiwat : Cephalometric evaluation of dento-facial complex of Thai adults (in Bangkok) ว.ทันต. 233-243, 2527 (ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ)
– วรรณา สุชาโต : Ideal arch ภาควิชาทันตกรรมจดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ฉบับปรับปรุง, 2532
– วรรณา สุชาโต : เซฟาโลเมตริกทางคลินิก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2525 ฉบับปรับปรุง 2527, 2531 และ 2544
– วรรณา สุชาโต : การจัดฟันด้วยเครื่องมือชนิดติดแน่น (เบอร์เก้นเทคนิคของศาสตราจารย์ฮาซูนด์) คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2528
– วรรณา สุชาโต : คู่มือการเรียนการสอนนักศึกษาปริญญาโท และนักศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาทันตกรรมจัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปีการศึกษา 2529, 2531, 2535, 2537
– วรรณา สุชาโต และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : การตั้งฟันเครื่องมือชนิดติดแน่น บทที่ 10 หน้า 92-105 หนังสือการเรียนการสอนภาคปฏิบัติวิชาทันตกรรมจัดฟัน พิมพ์ครั้งที่ 3 โดย สมพร เรืองผกา ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2530
– วรรณา สุชาโต และคณะ : สถานภาพและศักยภาพของการทำวิจัยทางทันตแพทยศาสตร์ หน้า 35-50 หนังสือเอกสารประกอบการสัมมนาระดับชาติเรื่อง ทิศทางการวิจัยทางทันตแพทยศาสตร์ 2531
– วรรณา สุชาโต และอารยา พงษ์หาญยุทธ : การวิจัยทางทันตแพทยศาสตร์ สาขาการวิจัยทางคลินิก หน้า 86-96 ในหนังสือเอกสารประกอบการสัมมนาระดับชาติ เรื่องทิศทางการวิจัยทางทันตแพทยศาสตร์ 2531
– วรรณา สุชาโต : บทบาทของทันตแพทย์ทั่วไปกับงานทันตกรรมจัดฟัน หน้า 1-9 หนังสือฟันล่างครอบฟันบน ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2532
– ประทีป พันธุมวณิช, วรรณา สุชาโต, นงลักษณ์ เจริญวรลักษณ์ และชโณทัย เฮงตระกูล : บทบาทของทันตแพทย์ไทยในทศวรรษหน้า บทที่ 4 หน้า 33-64
– วรรณา สุชาโต, กรัสไนย หวังริสิมากุล, ปิยะมล สาสนรักกิจ, อรอนงค์ กาญจโนภาศ และนพรัตน์ ธนบุญสมบัติ : การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองที่มีผลกระทบต่อการทันตแพทย์ไทยในทศวรรษบทที่ 9 หน้า 145-164 หนังสือเอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการสมาชิกผู้บริหาร คณะทันตแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยปี 2533
– วรรณา สุชาโต : Interceptive Orthodontics ในหนังสือเรื่อง แนวทางการพัฒนาทันตกรรมป้องกันทางคลินิกที่เหมาะสมในประเทศไทย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2534
– วรรณา สุชาโต : การวิเคราะห์ภาพถ่ายกะโหลกศีรษะด้านข้างในปัญหาฟันหน้าสบเปิด ในเอกสารประกอบการบรรยายในโครงการศึกษาต่อเนื่อง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เรื่องฟันหน้าสบเปิด, 2534
– วรรณา สุชาโต และอารยา พงษ์หาญยุทธ : ความสัมพันธ์ของส่วนสัดของขนาดฟันและขนาดของส่วนโค้งขากรรไกรในคนที่มีการสบฟันปกติ (ทุนอุดหนุนจากมูลนิธิทันตรักษ์วิจัย) การประชุมเสนอผลงานวิจัยทันตแพทยศาสตร์ ครั้งที่ 1 เชียงราย, 2535
– มัลลิกา ศิริรัตน์ และวรรณา สุชาโต : การแก้ไขความพิการของเหงือกโดยวิธีผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกคู่เข้าหากัน, ว.ทันต.มหิดล ปีที่ 13 หน้า 1-10, 2536
– ชัชรี สุชาติล้ำพงศ์ และวรรณา สุชาโต : ประสิทธิภาพของการผลิตผงโลหะเจือเงินด้วยวิธีก๊อซอะตอมไมเชชั่น, ว.ทันต.มหิดล ปีที่ 14 หน้า 91-98, 2537
– สุรชัย เดชคุณากร และพรรัชนี แสวงกิจ : ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนของอดีนอยดอล- นาโซฟารินเจียล และแบบโครงสร้างกระดูกใบหน้า .ว.ทันต.มหิดล 8,11-14, 2531
– สุรชัย เดชคุณากร และพรรัชนี แสวงกิจ : การประเมินช่องว่างทางเดินอากาศนาโซฟารินเจียล ว.ทันต. 39, 43-50, 2532
– สุรชัย เดชคุณากร และพรรัชนี แสวงกิจ : การหาตำแหน่งจุด A และจุด B ในภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง. ว.ทันต.มหิดล 9 ; 125-132, 2532
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และพรรัชนี แสวงกิจ : ความแม่นยำในการใช้ตารางความเป็นไปได้ ของโมเยอร์ในกลุ่มคนไทย. ว.ทันต. 40; 94-99, 2533
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และพรรัชนี แสวงกิจ : ฟันหายแต่กำเนิดและการสูญเสียฟันในผู้ป่วยจัดฟันกลุ่มหนึ่ง. ว.ทันต. 40 ; 165-176, 2533
– จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และสุรชัย เดชคุณากร : เครื่องมือกัดกระโดดพร้อมกันชนริมฝีปากล่าง ว.ทันต. 41, 66-77, 2534
– จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และสุรชัย เดชคุณากร : การวิเคราะห์ตำแหน่งและมุมของกระดูกคางในภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง. ว.ทันต. มหิดล 11, 93-99, 2534
– สุรชัย เดชคุณากร และจิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และพรรัชนี แสวงกิจ : อุบัติการของฟันเกินในภาพถ่ายรังสีพานอรามิก. ว.ทันต. 42 ; 8-13, 2535
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และพรรัชนี แสวงกิจ และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : การสบฟันผิดปกติในคนตาบอดและคนหูหนวกกลุ่มหนึ่ง. ว.ทันต. 41 ; 296-311, 2534
– จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และสุรชัย เดชคุณากร :การพิจารณาเลื่อนตำแหน่งและมุมของกระดูกคางในทางทันตกรรมจัดฟัน : รายงานผู้ป่วย. ว.ทันต. มหิดล 12; 118-125, 2535
– พรรัชนี แสวงกิจ สุรชัย เดชคุณากร นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพรคณา สนธิลาวัฒน์ : ความสัมพันธ์ของฐานกระดูกขากรรไกรทางแนวหน้า-หลังในคนไทยลักษณะใบหน้าปกติ. ว.ทันต. 42 ; 62-68, 2535
– สุรชัย เดชคุณากร พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพรคณา สนธิลาวัฒน์ : ความสอดคล้องของตัวชี้ความฃสัมพันธ์ของโครงสร้างกระดูดขากรรไกรในแนวหน้าหลัง ว.ทันต. 42 ; 53-61, 2535
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์, พรรัชนี แสวงกิจ, ไพศาล ชัยวัฒน์ และสุรชัย เดชคุณากร : กำลังขยายของภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะแนวข้าง และแนวหน้าหลัง ในเครื่องถ่ายภาพรังสีแบบต่างๆ. ว.ทันต. 42 ; 244-255, 2535
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และสุรชัย เดชคุณากร : ฟันหน้าสบเปิดในเด็ก. ว.ทันต. 43 ; 287-301, 2536
– อนงค์พร ศิริกุลเสถียร สุรชัย เดชคุณากร และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างของเหงือกยึดกับความยาวและความสูงของกระดูกเบ้าฟันที่บริเวณกึ่งกลางด้านหน้า. ว.ทันต.มหิดล 13 ; 185-189, 2536
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : ความสูงใบหน้าและกระดูกเบ้าฟันในผู้ใหญ่ที่มีการสบฟันปกติ. ว.ทันต. 44 ; 142-149, 2537
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และนฤมล ทวีเศรษฐ์ : ค่าปกติของผู้ใหญ่ไทยในการวิเคราะห์แบบต่างๆ จากภาพถ่ายรังสีกระโหลกศีรษะด้านข้าง. ว.ทันต. 44 ; 202-214, 2537
– กิตติ สุพันธุ์วณิช สินีพรรณ เกียรติพงษ์สาร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ สุรชัย เดชคุณากร และไพศาล ชัยวัฒน์ : สมการทำนายขนาดฟันเขี้ยวและฟันกรามน้อย จากขนาดฟันหน้าตัดล่างในคนไทย. ว.ทันต. 45 ; 58-92, 2538
– นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ พรรัชนี แสวงกิจ จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ และ สุรชัย เดชคุณากร : การวิเคราะห์เนื้อที่ในระยะฟันชุดผสม. ว.ทันต. 45 ; 288-295, 2538
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 1 ขนาดของฟันและอัตราส่วนร้อยละของฟันล่างต่อฟันบน. ว.ทันต. 45 ; 159-167, 2538
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และสินีพรรณ เกียรติพงษ์สาร : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 2 : ขนาดแนวความโค้งของฟัน ว.ทันต. 45 ; 222-229, 2538
– สุรชัย เดชคุณากร จิราภรณ์ ชัยวัฒน์ พรรัชนี แสวงกิจ นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และอิศราวดี วิเศษศิริ : แนวความโค้งของฟันในฟันสบปกติ ส่วนที่ 3 : อัตราส่วนร้อยละและสัดส่วนต่อเนื่องภายในและระหว่างแนวความโค้งของฟัน. ว.ทันต. 45 ; 230-238, 2538
– ชูโชติ ธนะภูมิ ชลธิชา อมรฉัตร และสุรชัย เดชคุณากร : ผลการใช้ยาอมบ้วนปากคลอร์เฮกซิดีนต่อการลดปริมาณมิวแทนส์สเตร็พโตคอกไคในน้ำลายของผู้ป่วยจัดฟันที่มีความเสี่ยงต่อโรคฟันผุสูง. ว.ทันต.มหิดล 16 ; 48-55, 2539
– กิตติ สุพันธุ์วณิช สุรชัย เดชคุณากร และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : แบบลายนิ้วมือของผู้ป่วยปากแหว่งและเพดานโหว่กลุ่มหนึ่ง. ว.ทันต.มหิดล 16 ; 193-199, 2539
– กิตติ สุพันธุ์วณิช สินีพรรณ เกียรติพงษ์สาร นิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ และสุรชัย เดชคุณากร : การทำนายขนาดความกว้างของฟันเขี้ยวและฟันกรามน้อยในฟันคนไทยกลุ่มหนึ่ง : การเปรียบเทียบของ 2 วิธี. ว.ทันต.มหิดล 18 ; 69-74, 2541
– กิตติ สุพันธุ์วณิช และสุรชัย เดชคุณากร : การดัดแปลงถาดพิมพ์ฟันสำหรับผู้ป่วยทารกปากแหว่งและเพดานโหว่. ว.ทันต.มหิดล 12; 32-36, 2535
– นุชนาฎ สุนทรจารุ สุรชัย เดชคุณากร และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : โครงสร้างกะโหลกศีรษะและใบหน้าชนิดที่ 2 แบบไฮโปไดเวอร์เจนท์ นอร์โมไดเวอร์เจนท์ และไฮเปอร์ไดเวอร์เจนท์ ในกลุ่มอายุต่างๆ : การศึกษาจากภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง ; ตอนที่ 1 ลักษณะโครงสร้าง. ว.ทันต.มหิดล 20; 1-20, 2543
– นุชนาฎ สุนทรจารุ สุรชัย เดชคุณากร และนิวัต อนุวงศ์นุเคราะห์ : โครงสร้างกะโหลกศีรษะและใบหน้าชนิดที่ 2 แบบไฮโปไดเวอร์เจนท์ นอร์โมไดเวอร์เจนท์และไฮเปอร์ไดเวอร์เจนท์ ในกลุ่มอายุต่างๆ : การศึกษาจากภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง ตอนที่ 2 ความแตกต่างระหว่างเพศ การเปลี่ยนแปลงตามอายุและตำแหน่งของส่วนโครงสร้างในแนวหน้าหลัง. ว.ทันต.มหิดล. 20 ; 71-88, 2543.
– Krailassiri, S., Anowongnukroh, N., and Dechkunakorn, S. : Relationships Between Dental Calcification Stages and Skeletal Maturity Indicators in Thai Individuals. Angle Orthodontist Journal Vol. 72, No.2, P. 155-166,2002
– Pusaksrikit S, Hathirat P., Isarangkura, P. : Cephalometry radiography in thalassemic patients in Fucharoen S
Rowley PT, Paul NW, eds. Thalassemia : Pathology and Management. New York : Alan R. Liss. Inc., 1978; 23 : 421-427.
– เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ : การถอนฟันตามลำดับ ว.ทันต. ม.3 : 169-181, 2525
– เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ และศิริลักษณ์ ประไพหลง : ความรู้เกี่ยวกับทันตกรรมจัดฟันในว่าด้วยเรื่อง
“หนังสือ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก เนื่องในโอกาสครบรอบ 15 ปี วันสถาปนาคณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล : 77-83, 2526.
– เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ : โรคทาลาสซีเมียในทางทันตแพทย์ ว.ทันต. ม.5 : 28-35, 2528
– เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ : คีมถอดไดเร็คท์ บอนด์ แบรคเค็ท ของเสงี่ยม ว.ทันต. ม.7: 1-7, 2530
– เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ : การดัดลวด บทที่ 3 หน้า 33-39 หนังสือ “การเรียนภาคปฏิบัติวิชาทันตกรรมจัดฟัน” พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ.2530 ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
– เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ อนันต์ เวชการวิทยา และสมเกียรติ ดุจหนึ่งคุณากร : เครื่องล้างฟิล์มอัตโนมัติแพร่ภาพออกอากาศในรายการข่าวประจำวัน เวลา 20.00 น. สถานีวิทยุโทรทัศน์ช่อง 9 อสมท. วันที่ 9 มกราคม 2531
– Pusaksrikit S, Isarangkura P, Hathirat P. : Occlusion of teeth in thalassemic patients. In : Fucharoen S, Rowley PT, Paul NW, eds. Thalessemia : Pathology and Management. New York : Alan R. Liss, Inc., 1987; 23 : 429-33. (Supported by Archawadit Siriratana Research Grant, Ramathibodi Foundation, Bangkok Thailand)
– สมพร เรืองผกา, เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ, อิศราวดี วิเศษศิริ : เปรียบเทียบความสัมพันธ์ของการสบฟันกับโครงสร้างขากรรไกรแนวหน้าหลังในกลุ่มเด็กฟันชุดผสม ว.ทันต.มหิดล 9 : 64-69, 2532
– เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ : เสงี่ยม เลเบียล โบว ว.ทันต.ม.10 : 37-42, 2533
– เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ : กลไกการเคลื่อนฟัน บทที่ 7 หน้า 76-83 หนังสือ “ฟันล่างครอบฟันบนในเด็กระยะฟันชุดผสม. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.2532 ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
– สมพร เรืองผกา : บทบาทของไดเรคบอนดิ้ง ในการปฏิบัติทางทันตกรรมจัดฟัน ว.ทันต ปีที่ 31 (2), 84-97, มีค.-เมย.2524
– สมพร เรืองผกา : การศึกษาการเจริญเติบโตของใบหน้าในทันตกรรมจัดฟัน., ว.ทันต, ม.2 : 162-170, 2525
– สมพร เรืองผกา : การทำนายการเจริญเติบโตของร่างกายด้วยการใช้ภาพรังสีข้อมือ ว.ทันต. ม.4 : 21-30, 2527
– สมพร เรืองผกา และพรรัชนี แสวงกิจ : การแปรงฟันขณะจัดฟัน เผยแพร่ความรู้ประกอบภาพแผ่นพับ พ.ศ.2529
– สมพร เรืองผกาและคณะ : หนังสือการเรียนภาคปฏิบัติวิชาทันตกรรมจัดฟัน พิมพ์ครั้งที่ 1 ของฟันที่กำลังเจริญเติบโตของเด็กในกรุงเทพมหานคร (เงินอุดหนุนจากสภาวิจัยแห่งชาติ) ว.ทันต. 38(2), 72-81, 2531
– สมพร เรืองผกา : เสงี่ยม พูศักดิ์ศรีกิจ และอิศราวดี วิเศษศิริ : เปรียบเทียบความสัมพันธ์ของการสบฟันกับโครงสร้างขากรรไกรแนวหน้าหลัง ในกลุ่มเด็กฟันชุดผสม ว.ทันต. มหิดล ปีที่ 9, 64-69, 2532
– สมพร เรืองผกา และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : การถอนฟันล่างในการจัดฟัน ว.ทันต. ปีที่ 39(1) : 18-25 พ.ศ.2532
– สมพร เรืองผกา และคณะ : หนังสือ “ฟันล่างครอบฟันบนในเด็กระยะฟันชุดผสม” พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.2532 ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน คณะทันตแพทยศาสตร์
– สมพร เรืองผกา : ฟันเคลื่อนที่อย่างไร เผยแพร่ความรู้ประกอบภาพสีเป็นรูปเล่มจำนวน 15 หน้าพ.ศ.2532 I. Visetsiri, S. Raungpaka and P. Nisalak : Biology of Orthodontic tooth movement. Mahidol Dent. J. Vol. 9(3); 157-162, 1989.
– กิตติ สุพันธุ์วณิช และสมพร เรืองผกา : การแก้ไขฟันล่างครอบฟันบนด้วยเครื่องมือสปริงระนาบเอียง; หลักการและวิธีการ ว.ทันต. ปีที่ 40(2), 59-67, 2533
– พาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ และสมพร เรืองผกา และพาสน์ศิริ นิสาลักษณ์ : การจัดการรักษาฟันซึ่งขึ้นเองไม่ได้ ว.ทันต. ปีที่ 41(2), 51-59, 2534
– Pairuch Hanvananont, Somporn Raungpaka, Poompada Jaochakarasiri and Tasanee Tengrungsun : LASER ETCHING ON ENAMEL FOR DIRECT BONDING WITH A HYBRID GLASS IONOMER CEMENT, Mahidol Dento. J. Vol.18 No.1-3 Jan.-Dec., 1998.
– Luppanapornlarp, S. and Ngvankij T. : Tooth-size discrepancies in openbite patients. J Dent Res, Spec. Iss. 2000 ; 79 : 613.
– ศิริวรรณ ธนไพศาล และ สุวรรณี ลัภนะพรลาภ : ความสัมพันธ์ระหว่างรอยประสานภายในขากรรไกรบนกับช่องห่างระหว่างฟันตัดกลางบน ว. ทันต. 2541, 48 : 219-228.
– Luppanapornlarp, S. and Johnston, L.E.: The effects of premolar extraction: A long-term comparison of outcomes in “clear-cut” extraction and nonextraction Class II patients. Angle Orthod. 1993 ; 63 : 257-272.
– Chancharoen, S., Santiwong, P., Seriwatanachai, D., Khantachawana, A., Chintavalakorn, R. (2022) A Novel Alveolar Distractor Incorporating Nickel–Titanium Alloy Springs: A Preliminary In Vitro Study. Materials 15(15), 5151
– Assawakawintip, T., Santiwong, P., Khantachawana, A., Sipiyaruk, K., Chintavalakorn, R. (2022) The Effects of Temperature and Time of Heat Treatment on Thermo-Mechanical Properties of Custom-Made NiTi Orthodontic Closed Coil Springs. Materials 15(9), 3121
– Santiwong, P., Sommaluan, K., Mokkasak, S., (…), Rattanaopas, T., Sipiyaruk, K. (2022) The implementation of PROMs/PREMs in the assessment of orthodontic treatment outcomes: A questionnaire survey. Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry
12(2), pp. 210-215
– Santiwong, P., Phenphasit, P., Chatthanavej, R., (…), Anantapanyagul, S., Sipiyaruk, K. (2021) Self-perceived needs for orthodontic retreatment among dental students: A qualitative study. Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry 11(4), pp. 402-407
– Chaweewannakorn, C., Santiwong, P., Surarit, R., Sritanaudomchai, H., Chintavalakorn, R. (2021) The effect of LED photobiomodulation on the proliferation and osteoblastic differentiation of periodontal ligament stem cells: in vitro. Journal of the World Federation of Orthodontists
10(2), pp. 79-85
– Wadud, A., Kitisubkanchana, J., Santiwong, P., Theerathavaj Srithavaj, M.L. (2021) Face Proportions, and Analysis of Maxillary Anterior Teeth and Facial Proportions in a Thai Population. Open Dentistry Journal 15(1), pp. 398-404
– Santiwong, P., Kobkitsakul, P., Khantachawana, A., Chintavalakorn, R. (2021) Effect of laser welding on mechanical properties of round-rectangular nickel-titanium (NiTi) orthodontic wires.
Orthodontic Waves 80(1), pp. 33-40
– Mongkolchart, W., Santiwong, P., Chintavalakorn, R., Khantachawana, A. (2019) Effect of surface treatment on physical and mechanical properties of nickel-titanium orthodontic archwires by fine particle shot peening method. Key Engineering Materials 801 KEM, pp. 33-38
– Tantiwinyupong, N., Chintavalakorn, R., Santiwong, P., Khantachawana, A. (2019) Frictional and mechanical properties of surface modified nickel-titanium orthodontic archwires. Key Engineering Materials 801 KEM, pp. 39-43
– Choki, M., Boonpratham, S., Luppanapornlarp, S. (2021) Correlation between objective evaluation and subjective evaluation of facial profile in skeletal type ii females. APOS Trends in Orthodontics11(3), pp. 223-228
– Peanchitlertkajorn, S., Jaroenying, R., Chalidapongse, P., Klongnoi, B., Boonpratham, S. (2021) Pediatric obstructive sleep apnea: The role of orthodontic management – Review article. Journal of the Medical Association of Thailand 104(2), pp. 326-336
– Boonpratham, S., Pariyatdulapak, N., Poonpiriya, T., Peanchitlertkajorn, S., Saengfai, N.N. (2021) The efficacy of rapid palatal expansion on the eruption of impacted maxillary canine: A systematic review. Australasian Orthodontic Journal 37(2), pp. 273-283
– Tantipanichkul, K., Boonpratham, S., Tangjit, N., Luppanapornlarp, S. (2019) Relationship between pre-treatment orthodontic case complexities and their treatment outcomes. Orthodontic Waves 78(4), pp. 160-168
– Chancharoen, S., Santiwong, P., Seriwatanachai, D., Khantachawana, A., Chintavalakorn, R. (2022) A Novel Alveolar Distractor Incorporating Nickel–Titanium Alloy Springs: A Preliminary In Vitro Study. Materials 15(15), 5151
– Chintavalakorn, R., Saengfai, N., Sipiyaruk, K. (2022) The protocol of low-level laser therapy in orthodontic practice: A scoping review of literature. Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry 12(3), pp. 267-286
– Assawakawintip, T., Santiwong, P., Khantachawana, A., Sipiyaruk, K., Chintavalakorn, R. (2022) The Effects of Temperature and Time of Heat Treatment on Thermo-Mechanical Properties of Custom-Made NiTi Orthodontic Closed Coil Springs. Materials 15(9), 3121
– Mitrirattanakul, S., Neoh, S.P., Chalarmchaichaloenkit, J., (…), Taechushong, N., Chintavalakorn, R. (2022) Accuracy of the Intraoral Scanner for Detection of Tooth Wear. International Dental Journal
– Chaweewannakorn, C., Santiwong, P., Surarit, R., Sritanaudomchai, H., Chintavalakorn, R. (2021) The effect of LED photobiomodulation on the proliferation and osteoblastic differentiation of periodontal ligament stem cells: in vitro. Journal of the World Federation of Orthodontists
10(2), pp. 79-85
– Supakomonnun, S., Mitrirattanakul, S., Chintavalakorn, R., Saengfai, N.N. (2021) Influence of functional and esthetic expectations on orthodontic pain | [Einfluss von funktionellen und ästhetischen Erwartungen auf Schmerzen bei der kieferorthopädischen Behandlung]
Journal of Orofacial Orthopedics
– Santiwong, P., Kobkitsakul, P., Khantachawana, A., Chintavalakorn, R. (2021) Effect of laser welding on mechanical properties of round-rectangular nickel-titanium (NiTi) orthodontic wires. Orthodontic Waves 80(1), pp. 33-40
– Mongkolchart, W., Santiwong, P., Chintavalakorn, R., Khantachawana, A. (2019) Effect of surface treatment on physical and mechanical properties of nickel-titanium orthodontic archwires by fine particle shot peening method. Key Engineering Materials 801 KEM, pp. 33-38
– Tantiwinyupong, N., Chintavalakorn, R., Santiwong, P., Khantachawana, A. (2019) Frictional and mechanical properties of surface modified nickel-titanium orthodontic archwires. Key Engineering Materials 801 KEM, pp. 39-43
– Chintavalakorn, R., Saengfai, N., Sipiyaruk, K. (2022) The protocol of low-level laser therapy in orthodontic practice: A scoping review of literature. Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry 12(3), pp. 267-286
– Sachdev, S., Tantidhnazet, S., Saengfai, N.N. (2021) Accuracy of Tooth Movement with In-House Clear Aligners. Journal of the World Federation of Orthodontists
10(4), pp. 177-182
– Boonpratham, S., Pariyatdulapak, N., Poonpiriya, T., Peanchitlertkajorn, S., Saengfai, N.N. (2021) The efficacy of rapid palatal expansion on the eruption of impacted maxillary canine: A systematic review. Australasian Orthodontic Journal 37(2), pp. 273-283
– Supakomonnun, S., Mitrirattanakul, S., Chintavalakorn, R., Saengfai, N.N. (2021) Influence of functional and esthetic expectations on orthodontic pain | [Einfluss von funktionellen und ästhetischen Erwartungen auf Schmerzen bei der kieferorthopädischen Behandlung]
Journal of Orofacial Orthopedics
– Chonnapasatid, W., Viwattanatipa, N., Manopatanakul, S., Jaruratanasirikul, S. (2022) Thai Universal Health Care Coverage scheme promotes the accessibility to cleft lip/palate treatment: the result of cleft care provision assessment using modified Geographic Information System. BMC Health Services Research 22(1),416
– Siddhisaributr, P., Khlongwanitchakul, K., Anuwongnukroh, N., Manopatanakul, S., Viwattanatipa, N. (2022) Effectiveness of miniscrew assisted rapid palatal expansion using cone beam computed tomography: A systematic review and meta-analysis. Korean Journal of Orthodontics
52(3), pp. 182-200
– Jermwiwatkul, W., Boonsiriseth, K., Viwattanatipa, N. (2021) Treacher Collins syndrome: Orthodontic treatment with mandibular distraction osteogenesis and orthognathic surgery. American Journal of Orthodontics and Dentofacial Orthopedics 159(6), pp. 836-851
– Pariyatdulapak, N., Churnjitapirom, P., Srikhirin, T., Viwattanatipa, N. (2021) Bond strength of orthodontic buttons on clear aligner materials. Orthodontic Waves 80(4), pp. 224-231
– Peanchitlertkajorn S, Assawakawintip T, Pibulniyom, M, Pungchanchaikul P, Jaroenying R. Successful treatment of a child with Schwartz-Jampel syndrome using rapid maxillary expansion and CPAP. Journal of Clinical Sleep Medicine 2021; 17(3): 601-4.
– Peanchitlertkajorn S, Jaroenying R, Chalidapongse P, Klongnoi B, Boonpratham S. Pediatric obstructive sleep apnea: The role of orthodontic management. Journal of the Medical Association of Thailand 2021; 104(2): 326-36.
– Boonpratham S, Pariyatdulapak N, Poonpiriya T, Peanchitlertkajorn S, Saengfai N.N. The efficacy of rapid palatal expansion on the eruption of impacted maxillary canine: A systematic review. Australasian Orthodontic Journal 2021; 37(2): 273-83.
– Pibulniyom M, Pungchanchaikul P, Assawakawintip T, Peanchitlertkajorn S. Oral findings and craniofacial morphology in a patient with Schwartz-Jampel syndrome and severe obstructive sleep apnea: A case report. Clinical Case Reports 2020; 8(12): 2550-3.
– Peanchitlertkajorn S. Presurgical Nasal Molding With a Nasal Spring in Patients With Mild-to-Moderate Nasal Deformity With Incomplete Unilateral Cleft Lip With or Without Cleft Palate. Cleft Palate-Craniofacial Journal 2019; 56(2): 280-4.
– Phruetthiphat, O.-A., Pinijprapa, P., Satravaha, Y., Kitcharanant, N., Pongchaiyakul, C. (2022) An innovative scoring system for predicting an excellent Harris hip score after proximal femoral nail anti-rotation in elderly patients with intertrochanteric fracture. Scientific Reports 12(1), 19939
– Phruetthiphat, O.-A., Paiboonrungroj, S., Satravaha, Y., (2022) Lawanprasert, A. The effect of CKD on intertrochanteric fracture treated with proximal femoral nail anti-rotation: A 7-year study. Journal of Orthopaedics 2022; 32: 151-155.
– Patntirapong, S., Chanruangvanit, C., Lavanrattanakul, K., Satravanha, Y. (2021) Assessment of bisphosphonate treated-osteoblast behaviors by conventional assays and a simple digital image analysis. Acta Histochemica 2021; 123(1): 151659.
– Niyomsujarit, N., Uttamang, P., Burad, M., Sipiyaruk, N., Sipiyaruk, K. (2022) The Effect of Dentin Contamination by Topical Anesthetics on Micro-Shear Bond Strength: An In Vitro Experiment. International Journal of Environmental Research and Public Health19(24), 16567
– Chotprasert, N., Shrestha, B., Thanasapburachot, P., Kanpiputana, R., Sipiyaruk, K. (2022) Psychosocial distress and psychological adjustment in patients with ocular loss: a framework analysis. BMC Oral Health 22(1), 533
– Burad, M., Laowanichwith, C., Kiatsukasem, A., Supa-amornkul, S., Sipiyaruk, K. (2022) Conceptual Framework for Implementation of Internationalization in Dental Education with Foundations in Dental Student Life. International Journal of Environmental Research and Public Health 19(20), 13249
Sipiyaruk, K., Hatzipanagos, S., Vichayanrat, T., Reynolds, P.A., Gallagher, J.E. (2022) Evaluating a Dental Public-Health Game across Two Learning Contexts. Education Sciences 12(8), 517
– Chintavalakorn, R., Saengfai, N., Sipiyaruk, K. (2022) The protocol of low-level laser therapy in orthodontic practice: A scoping review of literature. Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry 12(3), pp. 267-286
– Assawakawintip, T., Santiwong, P., Khantachawana, A., Sipiyaruk, K., Chintavalakorn, R. (2022) The Effects of Temperature and Time of Heat Treatment on Thermo-Mechanical Properties of Custom-Made NiTi Orthodontic Closed Coil Springs. Materials 15(9), 3121
– Santiwong, P., Sommaluan, K., Mokkasak, S., (…), Rattanaopas, T., Sipiyaruk, K. (2022) The implementation of PROMs/PREMs in the assessment of orthodontic treatment outcomes: A questionnaire survey. Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry
12(2), pp. 210-215
– Sipiyaruk, K., Chanvitan, P., Kongton, N., Runggeratigul, P., Niyomsujarit, N. (2022) The impact of smile appearance and self-perceived smile attractiveness on psychological well-being amongst dental undergraduates. International Journal of Clinical Dentistry
15(2), pp. 365-378
– Chotprasert, N., Shrestha, B., Sipiyaruk, K. (2022) Effects of Disinfection Methods on the Color Stability of Precolored and Hand-Colored Maxillofacial Silicone: An in Vitro Study. International Journal of Biomaterials 2022, 7744744
– Jongpipittaporn, P., Sipiyaruk, K., Buranachad, N. (2022) The impact of contemplative practice in dental education: A qualitative study in general dentistry. Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry 12(1), pp. 78-84
– Arayapisit, T., Jarunsiripaisarn, J., Setthamongkol, T., (…), Songsomsup, T., Sipiyaruk, K. (2021) Online professionalism of Facebook usage in dental education: A retrospective exploration.
Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry 11(5), pp. 539-545
– Sipiyaruk, K., Arayapisit, T., Patthanajitsilp, P., (…), Hayter, A., Srimaneekarn, N. (2021) The trend of analytical approaches in dental research. Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry 11(4), pp. 463-468
– Santiwong, P., Phenphasit, P., Chatthanavej, R., (…), Anantapanyagul, S., Sipiyaruk, K. (2021) Self-perceived needs for orthodontic retreatment among dental students: A qualitative study. Journal of International Society of Preventive and Community Dentistry 11(4), pp. 402-407
– Sipiyaruk, K., Hatzipanagos, S., Reynolds, P.A., Gallagher, J.E. (2021) Serious games and the covid-19 pandemic in dental education: An integrative review of the literature. Computers 10(4), 42
– Salazar, F.B.C., Sipiyaruk, K., White, S., Gallagher, J.E. (2019) Key determinants of health and wellbeing of dentists within the UK: a rapid review of over two decades of research. British Dental Journal 227(2), pp. 127-136
– Mitrirattanakul, S., Neoh, S.P., Chalarmchaichaloenkit, J., Limthanabodi, C., Trerayapiwat, C., Pipatpajong, N., ……, Chintavalakorn, R. (2023) Accuracy of the Intraoral Scanner for Detection of Tooth Wear. International Dental Journal 73(1), P. 56-62
—————————————————————————————————————————————————————
• แผ่นพับความรู้ทางทันตกรรม – ไขปัญหาระหว่างการจัดฟัน •
—————————————————————————————————————————————————————
รายการ คลิป MU จัดฟัน ปากเน่า ดัดฟันแฟชั่น อันตรายหมอฟันเถื่อน คนเราจำเป็นต้องจัดฟันจริงหรือ
รายการเพื่อฟันที่คุณรัก ตอน การจัดฟันด้านใน
ข่าวประชาสัมพันธ์และภาพกิจกรรม
• The 5th MU Ortho Symposium: Featuring Asian Orthodontic Super League
• ขอเชิญอาจารย์ นักศึกษา และผู้ที่สนใจเข้าฟังบรรยาย Dental Anthropology
• ระบบลงทะเบียนขอรับคำปรึกษาเพื่อเข้าคิวการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน ในรูปแบบออนไลน์
• เปิดรับสมัคร หลักสูตรปริญญาโทสาชาทันตกรรมจัดฟัน MS in Orthodontics (INTERNATIONAL PROGRAM)
• จัดฟันใส Invisalign ราคา 79,999 บาท รับจำนวนจำกัด
• ขอเชิญเข้าร่วมฟังการบรรยาย หัวข้อ “Syndromic Hour” ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563
• ขอเชิญเข้าร่วมฟังการบรรยาย หัวข้อ “Syndromic Hour” ณ วันที่ 22 มกราคม 2563
• ขอเรียนเชิญทันตแพทย์ผู้สนใจเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ ในหัวข้อ ORTHODONTICS ALIGNER
• บรรยายวิชาการ CUTTING-EDGE TREATMENT TECHNIQUES AND MECHANICS IN ORTHODONTICS
• “Invisalign University Programme”
• Admission Residency Training Program in Orthodontics (International Program)
• เชิญร่วมปาร์ตี้จัดขนมลงกล่อง ส. 14 ก.พ. 58 : สโมสรนายทหาร รพ. พระมงกุฏ
• การบรรยายพิเศษ “The CBCT in Orthodontics & Dental Practice, State of the Art & Future”
• Thesis Defence Examination Master s International Program in Orthodontice
Research Publications
1. Poonpiriya T, Sawaengkit P, Thaweboon S, Churnjitapirom P. Physical properties of vanillin incorporated self-curing orthodontic polymethylmethacrylate resin. Key Engineering Materials. 2020;853:46-50.
Department: Orthodontics / Oral Microbiology / Research Office
Source: Scopus SJR (2019): Q3
JCR (2019): – Impact Factor (2019): –
1.Malanont S, Dechkunakorn S, Anuwongnukroh N, Wichai W. Comparison of Three Commercial Latex and Non-Latex Orthodontic Elastic Bands. Key Engineering Materials. 2019;814:354-9.
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus SJR (2018): Q3
JCR (2018): – Impact Factor (2018): –
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus SJR (2018): Q3
JCR (2018): – Impact Factor (2018): –
Department: Orthodontics / Operative Dentistry and Endodontics / Research Office
Source: Scopus SJR (2018): Q3
JCR (2018): – Impact Factor (2018): –
Department: Orthodontics
Source: Scopus SJR (2018): Q4
JCR (2018): – Impact Factor (2018): –
Department: Orthodontics / Operative Dentistry and Endodontics / Research Office
Source: Scopus SJR (2018): Q3
JCR (2018): – Impact Factor (2018): –
Department: Orthodontics
Source: Scopus SJR (2018): Q3
JCR (2018): – Impact Factor (2018): –
1.Pudpong N, Anuwongnukroh N, Dechkunakorn S, Wichai W, Tua-ngam P. Cytotoxicity of three light-cured orthodontic adhesives. Key Engineering Materials. 2018;777:582-6.
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics
Source Scopus
Department: Orthodontics
Department: Orthodontics
Source PubMed
1. Anuwongnukroh N, Dechkunakorn S, Damrongsri S, Nilwarat C, Pudpong N, Radomsutthisarn W, Kangern S. Accuracy of Automatic Cephalometric Software on Landmark Identification. IOP Conf Ser: Mater Sci Eng 2017; 265: Article number 012028.
Department: Orthodontics / Oral and Maxillofacial Radiology
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Oral Microbiology
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Oral Microbiology
Source: Scopus
Department: Orthodontics
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Oral and Maxillofacial Surgery
Source: Scopus
Department: Orthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Research Office
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Prosthodontics
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Research Office / Orthodontics
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Oral Biology
Source: WOS / Scopus
Department: Orthodontics / Research Office
Source: WOS / Scopus / PubMed
Department: Research Office / Orthodontics
Source: Scopus
Department: Research Office / Orthodontics
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics
Source: Scopus
Department: Orthodontics
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Oral Microbiology / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics
Source: Scopus
Department: Orthodontics
Source: Scopus
Department: Orthodontics
Source: Scopus
1.Phukaoluan A, Khantachawana A, Kaewtatip P, Dechkunakorn S, Kajornchaiyakul J. Improvement of mechanical and biological properties of TiNi alloys by addition of Cu and Co to orthodontic archwires. Int Orthod. 2016; 14(3):295-310.
Department: Orthodontics
Department: Orthodontics
Department: Oral Microbiology / Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
Department: Orthodontics / Research Office
Source: Scopus
ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2200-7813-14
คลินิกทัตกรรมจัดฟัน ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2200-7812