Page 48 - คู่มือนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ประจำปีการศึกษา 2568
P. 48

คูมือนักศกึ ษาบณั ฑตศึกษา คณะทนั ตแพทยศาสตร มหาวิทยาลยั มหิดล ประจำปการศึกษา 2568

5. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาทนั ตกรรมหัตถการ

ชือ่ ปรญิ ญาและสาขาวชิ า

ภาษาไทย                   ชอื่ เตม็ : วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ (ทันตกรรมหตั ถการ)
ภาษาองั กฤษ               ชอื่ ยอ: วท.ม. (ทันตกรรมหตั ถการ)
                          ช่อื เต็ม: Master of Science (Operative Dentistry)
                          ชอ่ื ยอ : M.Sc. (Operative Dentistry)

ปรัชญา ความสำคัญของหลักสูตร
    หลักสูตรนี้มีความมุงมั่นในการผลิตทันตแพทยที่มีความรู ความสามารถในการวินิจฉัยปองกันรักษา และบูรณะฟนให

คงสภาพพรอมใชง าน และสวยงาม สามารถแสวงหาความรูใหมเ พอ่ื พัฒนาวชิ าการ และงานวจิ ยั ดา นทันตกรรมหตั ถการ และนำองค
ความรูไปประยุกตปฏิบัติ หรือถายทอดใหกับผูอื่น โดยอยูบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการและ
วิชาชพี เปนสำคัญ

    โรคฟนผุในประเทศไทยนับวาเปนโรคที่มีอุบัติการคอนขางสูง อยางไรก็ตามสามารถปองกันโรคนี้ไดและเมื่อเกิดโรคขึ้นยัง
สามารถบรู ณะฟน ใหม ีสภาพทใ่ี ชง านไดถ าโรคยังไมล กุ ลามมาก ซึ่งเปน วิธีหยุดยัง้ การผุลงไดกอนที่จะเกิดอันตรายตอ เน้ือเย่ือใน ซึ่งจะ
ทาใหการรักษายุง ยากมากขึน้ ทันตแพทยที่สำเร็จการศกึ ษาในระดบั ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต มีความรูค วามสามารถในการปองกัน
และบูรณะฟนไดในระดับหนึ่ง ในปจจุบันเนื่องจากมีการพัฒนาทางวิชาการ วิธีการ เครื่องมือ ตลอดจนวัสดุตางๆ ที่ใชบูรณะฟนข้ึน
อยางมากมายและรวดเร็ว หลักสูตรการศึกษาระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมหัตถการ จึงมีความจำเปนเพื่อฝกอบรม
ทันตแพทยใ หพฒั นาความรูความชำนาญมากข้นึ ในการวินจิ ฉัย ปอ งกนั และบรู ณะฟน ใหอยูในสภาพทีใ่ ชงานไดดี มีความสวยงามโดย
ใชว สั ดุและวธิ กี ารตา งๆ ท่ีเหมาะสม นอกจากนหี้ ลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าทนั ตกรรมหตั ถการ ยังมงุ ผลติ มหาบัณฑิต
ที่มีความรู ความสามารถทางทันตกรรมหัตถการทส่ี ามารถคนควาใหเ กิดความรูใหม ซึง่ จะนาไปใชประโยชนในการปองกันรักษาและ
พัฒนาวิชาการใหมีความกาวหนา สามารถถายทอดความรูใหกับผูอื่นได และมหาบัณฑิตจะไดรับการปลูกฝงใหเปนผูมีความพรอม
เพอ่ื ประกอบอาชีพในอนาคต สามารถทางานรว มกันระหวางบคุ ลากรตา งสาขาวิชา มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความรับผดิ ชอบตอ สว นรวม

วัตถุประสงคข องหลกั สูตร
    เมื่อส้นิ สดุ การเรียนการสอนตามหลกั สตู รแลว มหาบัณฑติ จะมคี ุณลักษณะตามมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับบัณฑิตศึกษา ดังน้ี
    1. มีคณุ ธรรม และจริยธรรมทางวชิ าการและวชิ าชพี
    2. มีความรู ใฝหาความรู และประสบการณอ ยา งตอเนื่อง เพอื่ การปอ งกนั รกั ษาและบูรณะฟนใหอยูในสภาพที่ใชงานไดและสวยงาม
    3. วิเคราะห บูรณาการความรูจากสิ่งตีพิมพทางวิชาการ หรือรายงานทางวิชาชีพทางทันตกรรมหัตถการ และศาสตรท่ี
       เกีย่ วของ เพ่อื การพฒั นาความคิดใหม ๆ และสามารถวางแผนการคนควาวจิ ยั ไดดว ยตนเอง
    4. มีทักษะการทำงานเปนกลุม มีมนษุ ยสมั พนั ธท ี่ดี มีความรบั ผิดชอบในหนาท่ีทไ่ี ดร ับมอบหมาย
    5. มีทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข ทักษะในดานการสื่อสารกับผูปวย สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปนปจจุบัน
       ในการสืบคนขอมูล รวบรวม นำเสนอความรไู ดอ ยางเขาใจ
    6. มีทกั ษะในการบริบาลทนั ตกรรมหตั ถการแบบบูรณาการและสง ตอผูปว ยทีถ่ กู ตอ งและเหมาะสม

                                                                               งานบริหารการศึกษาหลังปริญญา 42 |
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53